การให้ทานและกาลทานในพระพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน ตุลาคม พ.ศ.2558 หน้า 87
หน้าที่ 87 / 124

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการให้ทานในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องกาลทาน ซึ่งเป็นการให้ทานในช่วงเวลาที่สามารทำได้ มีบทบาทสำคัญในการสร้างบุญกุศล การให้ทานตามกาลที่เหมาะสมทำให้ผู้ให้อยู่ในสถานะที่ดีขึ้นในเรื่องทรัพย์และโชคลาภ เช่นเดียวกับกาลทานยังเป็นส่วนหนึ่งของสังฆทานที่ต้องทำด้วยจิตใจที่บริสุทธิ์ ข้อกำหนดที่เป็นกระบวนการธรรมะการให้ให้เป็นไปตามหลักในพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-การให้ทาน
-กาลทาน
-สังฆทาน
-คุณค่าของการให้

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดูอ้อนิก น้ำหลาย ถว่าวัสดุทั้งหลาย พิธีผุ้ผลแห่งการจําแนกทานเหมือนอย่างเราว่าจะใช่ สัตว์ทั้งหลายยังไม่ให้แล้วจะไม่ฟังบริโภค อันยง ความตระหนี่อันเป็นมลทิน จะฟัง ครอบจิตของสัตว์เหล่านั้นไม่ฟัง แบ่งข้าวคำหลังจากคำข้าวนั้น แล้วก็จะไม่ ฟังบริโภค ถ้าปฏิภาค (ผู้ทาน) ของสัตว์ เหล่านี้พึงมี อยู่ดูอ้อนิกทั้งหลาย แต่เพราะสัตว์ ทั้งหลายไม่รู้จําแนกทานเหมือนอย่างเราว่าจะ นั่นสัตว์ทั้งหลายไม่ให้แล้วจึงบริโภค อันง ความตระหนี่อันเป็นมลทินจึงครอบจิต ของสัตว์เหล่านั้น" ในบรรดาทั้งหลายที่มีผลน่าสงสาร กรุณาทนับเป็นทานชนิดหนึ่ง ซึ่งในปีนี้จะ ทำได้เพียงครั้งเดียว ในระยะเวลาเพียง ๑ เดือน หลังจากออกพรรษา กุศลทานจึงได้กล่าวว่าเป็น "กาลทาน" ผู้ที่ให้ทานตามกาลอันควรแล้ว พระผู้- มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ย่อมเป็นผู้ม่วงดัง มีทรัพย์ มาก มีโชคมาก และอิ่มเป็นผู้มีความต้องการ ที่เกิดขึ้นตามกาลอันบริบูรณ์ในที่ทานนั้น ส่งผล กุศลทานยังจัดว่าเป็นสงฆทาน คือ ทาน ที่ให้แก่หมู่อื่นนะ ไม่เฉพาะเจาะจงผู้ใดผู้หนึ่ง โดยข้อกำหนดที่ว่า สงฆทาน คือ ทานที่ถวาย สงฆ์ทั้ง ๗ ประเภท ได้แก่ ๑. สงฆ ๒ ฝ่าย (ภิกษุสงฆ์และภิกษุ- สงฆ์) มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นประจําภู ๒. สงฆ ๒ ฝ่าย ในเวลาที่พระสัมมา- สัมพุทธเจ้าดับขันธปรินิพพานแล้ว ๓. ภิกษุสงฆ์ ๔. ภิกษุสงฆ์ ๕. บุคคลที่ได้รับอนุญาติจากสงฆ์ ๒ ฝ่าย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More