หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พระไตรปิฎก (ตอนที่ ๑๑) วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนเมษายน พ.ศ.2559 หน้า 50
หน้าที่ 50 / 132

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการค้นคว้าของผู้เขียนและคณะนักวิจัย DIRI ที่ศึกษาเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในช่วงเวลากว่า 2,600 ปี แสดงให้เห็นถึงเหตุการณ์สำคัญและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในแต่ละยุคสมัย ทั้งในด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี และวัฒนธรรมของชาวพุทธ เพื่อให้สาธารณชนได้เห็นภาพรวมที่ชัดเจนเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและการแพร่กระจายไปสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ นับเป็นความรู้ที่สำคัญต่อการเข้าใจศาสตร์อันเป็นแก่นแท้และรากฐานของพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-การเผยแพร่พระพุทธศาสนา
-การค้นคว้าและวิจัย
-ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
-วัฒนธรรมและความเป็นอยู่ของชาวพุทธ
-การศึกษาคัมภีร์พระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระสุตธรรมนิพนธ์ วิค. (สุธรรม สุโม) และคณะนักวิจัย DIRI หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พระไตรปิฎก (ตอนที่ ๑๑) ผู้เขียนและคณะ ได้ค้นคว้ารือเรียงเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา แสดงเหตุและปัจจัยในแต่ละช่วงเวลาและสถานที่ว่ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น ในลักษณะบทความอย่างต่อเนื่องให้สาธารณชนในแต่ละยุคสมัย นับตั้งแต่เริ่มต้นมาจนถึงฉบับที่ท่านทั้งหลายกำลังอ่านอยู่นี้ ทำให้เราได้เห็นภาพและมีความรู้เป็นพื้นฐานทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี อักษรศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และวัฒนธรรมความเป็นอยู่ของชาวพุทธแต่ละยุคสมัย ซึ่งผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบัน DIRI ก็ได้นำความรู้เหล่านั้นมาเป็นฐานข้อมูลเพื่อจะได้ทำความจริงให้ปรากฏเป็นภาพแท้ต่างให้พระพุทธศาสนาต่อไปในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง 2,600 ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาด้วยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอแนวความต่อจากฉบับที่แล้ว การเผยแพร่พระพุทธศาสนาจาก ศรีลังกาไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๘ เจริญรุ่งเรืองอยู่ระยะหนึ่ง แต่ภายหลัง ภาพเขียนฝาผนังเรื่องจิติสถาปนิกสายงานในพระสถาง ที่มา http://static.naewna.com/uploads/userles/images/F_สถาบันสถาพยนต์_opt.jpg
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More