ข้อความต้นฉบับในหน้า
ลายกระหนกเป็นรูปแบบลายของศิลปะไทยซึ่งสูงที่ชั้นมีอิทธิพลในศิลปะลายรดน้ำที่พบมากเป็นลายกระหนกเปลวไฟ มีเส้นสายอ่อนพลังไหล พลายสะบัดสะบัดคล้ายเปลวไฟหรือเป็นลวดลายที่ช่างฝีมือดัดแปลงจากธรรมชาติโดยตัว เช่น รวงข้าวและทรงของฝ่ายเทค ก่อเกิดเป็นลายกระหนกขาวหรือ ลายกระหนกใบเทศคั่นงาม สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตของคนไทยที่ผูกพันแน่นแน่อยู่กับ สังคมเกษตรกรรมมาต่อยชามาราม หรือบง ครง ช่างศิลป์ก็ผูกลายเป็นกระหนกเคล้าวภาพคือ ผูกเป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ เช่น กระรอก นก ผีเสื้อ เกาะหรือไปตามก้านของกระหนกด้วยอากัปกิริยาการเคลื่อนไหวที่สดใสอย่างกลมกลืน กับลายประดิษฐ์ดี ความสร้างสรรค์และอัจฉริยภาพในการประดิษฐ์ลายไทยที่มีเอกลักษณ์ของครูช่างไทยในอดีตปรากฏในคำไหว้ครูช่างดังนี้
ผูกลายขดแยงเวียดลัว นกคาบในคลองเปลวปลาย เครื่องเคทสุดุ้นหลากหลาย เป็นอย่างฝรั่งจีนจาม ซ้อนชินกันเตี้อย่วงงาม ด้วยลูกแลดอกอ้อแน ลักษณะโปร่งรัวรนแรง วิจิตรเน้นเนียนทำ ๆ (ประชุมหนังสือเก่า ภาคที่ ๑-๒, ๒๕๕๒ : ๑๙)
ภาพพลายรดน้ำบนตูพระไตรปิฎกผูก เป็นลวดลายจนเต็มพื้นที่และมี "แม่ละ" หรือภาพหลัก บ้างเป็นภาพบุคคลที่ไม่ได้เขียนเป็น เรื่องราว เช่น เทวดา ทวารบาล บ้างเป็นภาพ บอกเล่าเรื่องราวจากคัมภีร์พระพุทธศาสนา และเรื่องจากวรรณคดีและนิทานพื้นบ้าน ใน
๑๙ อยู่ในบุญ เมษายน ๒๕๔๙