การรู้จักประมาณในการกิน วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนเมษายน พ.ศ.2559 หน้า 85
หน้าที่ 85 / 132

สรุปเนื้อหา

การรู้จักประมาณในการกินถือเป็นเรื่องสำคัญที่ทุกคนควรให้ความสนใจ ไม่ว่าพระภิกษุหรือญาติโยม หากไม่มีการประมาณในการกิน อาจถูกมองว่าเห็นแก่ตัว หรือเกิดปัญหาสุขภาพได้ เช่น การรับบาตรหลายใบของพระมีเหตุผลที่ต้องทำ โดยเฉพาะในวันสำคัญที่มีผู้มาทำบุญมาก ควรเลือกอาหารที่มีคุณค่าและเหมาะสม การกินอาหารในเวลาและในจำนวนที่พอเหมาะจะส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งสำคัญคือการควบคุมปริมาณอาหารที่บริโภคและรู้จักหยุดเมื่ออิ่ม เพื่อรักษาศีลธรรมและสุขภาพที่ดี.

หัวข้อประเด็น

-การกินอย่างมีสติ
-ศีลธรรมในเรื่องอาหาร
-ความสำคัญของการประมาณในการกิน
-พิษภัยจากการกินสิ่งที่ไม่ดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

“ใครว่าไม่รู้จักประมาณในการกินต้องรับแก้ไขเสีย มีฉะนั้นจะถูกเพ่งเล็งว่าเป็นคนเห็นแก่ตัว ไม่มีใครอยากคบ” ก็ฉันไม่หมด แต่บางครั้งเราพบว่า พระภิกษุ ญาติโยม บางรูปรูปบางเต็มแล้วถ่ายบาตรลงในถัง แล้วรับบาตรต่อไปอีก คนที่ไม่เข้าใจก็นึกตำหนิว่า “เอะ…พระองค์นี้โลก” จริง ๆ แล้วท่านไม่โง่ แต่ในบางภาวะเป็นเรื่องจำเป็นต้องทำ อาทิเช่น กรณีที่ 1 พระบางรูปในกรุงเทพฯ รับลูกศิษย์ไว้อยู่ด้วยปีละ ๒-๓ คน ก็พวกญาติ ๆ ลูก ๆ หลาน ๆ ที่อยู่ต่างจังหวัดนั้นแหละ เข้าปาเรียนหนังสือแล้วไม่มีที่พัก ก็ขออาศัยด้วยหลวงพ่อ หลวงพี่ หลวงน้า ท่านเมตตาเลี้ยงดูไว้ตามอัตภาพ แล้วก็ได้ลูก ๆ เข้ามาเชิดภูมิ กวาดวัด ปฏิบัติธรรมไป เพราะฉะนั้นกรณีอย่างนี้ท่านอาจจะรับบาตรถึง ๒ บาตร ๓ บาตร ก็อย่าไปตำหนิท่านเลยกรณีที่ 2 ท่านอาจไม่มีลูกศิษย์ลูกหาให้ต้องเลี้ยงดู ไม่ต้องการอาหารมาก แต่ในวันนักขัตฤกษ์ ๆ เช่น วันปีใหม่ วันสงกรานต์ คณะส่วนมากนิยมตักบาตร จึงเป็นเหตุจ ายมให้ท้องรับบาตรหลายครั้ง ถ้ากำหนดเอาแบ็บตรเดียว รับรองว่าเดินทางวัดไม่ถึง ๑๐๐ เมตร ก็เต็มบาตรแล้ว จะกลับเสียดอนัน ก็ไม่เหมาะ เพราะญาติโยมก็เคยตักบาตรประจำชะง่อคอยอยู่ในนี้ ขึ้นไปถึงพรุ้งนี้คงแนะ ก็เลยต้องไปให้งบ้านโยม ตกลงนั่นเลยต้องถ่ายบาตรหลายบาตร ลูกศิษย์แบกถุงตามหลังหน้าไหล่แทบหลุด กรณีอย่างนี้ก็อย่าว่ากัน เพราะเป็นเรื่องของการรักษาศีลธรรรมในเรื่องอาหารถารกิน หรือไหร่นมันตุบุตญดูกดานี้ ไม่ว่าพระหรือคนพระสิบทิพย์เจ้าทรงย้ำเตือนไว้นานหน พระองค์ก็ได้ทรงปรากฎเฉพาะเรื่องกินมากกินน้อยเท่านั้น แต่ทรงหมายความครอบคลุมถึงชนิดของอาหารด้วย เช่น ๑. ของอะไรที่ไม่ควรกินก็อย่าไปกิน เช่น ของที่สกาวไม่พอ ขึ้นกินเข้าไปประเดี๋ยวก็เป็นโรคนโรคนี้ ๒. อาคารที่มีสร้างเกินไป เช่น เผด็จ เค็มจัด เปรี้ยวจัด เลาะท้องอย่าไปกิน ท้องไส้จะเสีย ๓. กินอาหารไม่เป็นเวล่า ระบบย่อยอาหารเสียหมด กินในเวลาที่อาหาไม่ให้ประโยชน์แก่ร่างกายเท่าที่ควร ท่านก็ห้ามเสียดังเช่นในปรารถนาในศิลป์ข้อ ๖ เว้นการรับประทานอาหารในเวลาวิการ หลังเที่ยงแล้ว ๔. อาหารใดที่มีราคาแพงจัด ทำให้เสียดายของมากเกินเหตุ ก็ให้เลี่ยงเสีย ไปหาอาหารกินแทนกันได้ ซึ่งมีราคาถูกกว่า แต่ให้คุณค่าอาหารเท่ากัน หรือแม้ด้วยว่าถ้าสนิดหากไม่มีก็ทรุบบกะท้อนสุขภาพก็ยังดีกว่า รู้จักกินอาหารดีแล้วก็อย่าลืม “อีก ๔-๕ คำจะอิ่ม ให้หยุดเสียดึง เกลือทีว่างไว้ให้น้ำบ้าง” หรืออย่างที่โปรดเวาว่า ดื่มน้ำตามอัธยาสิแล้วก็อิ่มพอดี (อ่านต่อฉบับหน้า) อยู่ในบุญ เมษายน ๒๕๕๙ ๓๓
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More