ข้อความต้นฉบับในหน้า
จารึกโบราณสถานหมายเลข ๑๐๐๕ อักษรปิลาวะ ภาษาบาลี จารึกข้อความในปุ่มสมบูรณ์ อนุโลมและปฏิรูป พุทธศตวรรษ ๑๒-๑๓
พบที่โบราณสถานหมายเลข ๑๐๐๕
อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
ที่มา http://www.sac.or.th/databases/inscriptions, inscribe_image_detail.php?id=289
ที่เมืองโบราณศรีเทพ นักโบราณคดีได้พบหลักฐานพระพุทธศาสนาหมาย และเป็นจารึกอักษรข้างบรรลือเป็นจารึกอักษรจีน อ่านว่า ภิกษุขุน ปีชีหิน ซึ่งอาจเป็นฐานิฐานได้ว่าเป็นการสร้างพระพุทธรูปอุคคิให้แก่ผู้ใดพบกันตามคำบรรยาย โดยที่พระพุทธศาสนามายาและเศราวัฒน์เป็นนั่นถือปฏิบัติพร้อม ๆ กันในเมืองศรีเทพนี้
ในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน ทางภาคใต้ของประเทศไทยพบศิลาจารึกใช้คำรบละภาษาสันสกฤตฤดูที่จังหวัดนครศรีธรรมราช มีเนื้อหาในจารึกกล่าวถึงการฉลองพระธาตุเจดีที่สำคัญ ซึ่งมีการถวายภัตตาหารแก่คณะสงฆ์ พราหมณ์ และเลี้ยงบุคคลทั่วไปมีการฟังพระธรรมเทศนาและการปฏิบัติธรรมเพื่อฝึกอินทรีย์ไม่ขาดสาย มีการบูชา พระเจดีย์ด้วยดอกไม้ ฯลน เขียน ลงเพดาน จามร ตั้งนำจีน รวมทั้งยังรับรักษาความปลอดภัยให้แก่ประชาชนในงานด้วย
หากการปฏิบัติธรรมหมายรวมถึงการทำสมาธิถวาย ศิลาจารึกนี้จะเป็นหลักฐานเก่าแก่ที่แสดงถึงการทำสมาธิวานาแบบพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
จารึกพระพิมพ์เมืองศรีเทพ (ด้านหน้า) ดินเผา สูง ๘.๕ เซนติเมตร
ทะเบียนวัตถุ ลบ.๐๐ พุทธศตวรรษ ๑๓-๑๔
ที่มา http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/uploads/images/20140825111428eStSu.jpg