การศึกษาพระธรรมในเมืองเชียงใหม่และเมืองแพร่ วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2559 หน้า 100
หน้าที่ 100 / 156

สรุปเนื้อหา

ในปี พ.ศ. ๒๓๘๑ เจ้าหลวงแผ่นดินเย็นมีพระราชศราภาประดิษฐ์ฐานพระพุทธศาสนา สืบสานการรวบรวมคัมภีร์ไตรปิฎกเพื่อความเจริญรุ่งเรือง โดยมีการเชิญชวนจากเจ้าหลวงอินทวิชัยราชาในการรวบรวมพระธรรมจากเชียงใหม่สู่แพร่ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการเคารพในพระธรรมและความสำคัญของศาสนาในสมัยนั้น วิถีการทำงานในด้านนี้ได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดีจากพระสัทธรรมในดินแดนล้านนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งยังมีการเฉลิมฉลองที่วัดพระสิงห์อย่างเป็นระเบียบหลายวันหลายคืน

หัวข้อประเด็น

-การรวบรวมคัมภีร์พระไตรปิฎก
-ความสำคัญของพระพุทธศาสนา
-การสนับสนุนพระธรรมศาสตร์ในล้านนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ในปี พ.ศ. ๒๓๘๑ (จ.ศ. ๑๙๙๑) เจ้าหลวงแผ่นดินเย็น พุทธวงศ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ มีพระราชศราภาประดิษฐ์ฐาน พระพุทธศาสนาไว้ดั่งยั่งยืนในแผ่นแวนต์ ทรงปราราณาจะเจริญรอยตามพระพุทธโมษาจารย์ พระภิบาลชาวอินเดีย ที่เดินทางไปรวบรวมคัมภีร์ใบลานพระไตรปิฎกที่เกาะลังกา เพื่ออ่านคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้กลับมาเจริญรุ่งเรืองในดินแดนชมพูทวีปอีกครั้ง ซึ่งทรงเป็นประธานฝ่ายคุณหั้วสนับสนุนครบถ้วน- อัญญาวาส พระมหาธาตุผู้ทรงคุณูปการแก่มืองเชียงใหม่ ให้ร่วมกันตรวจสอบและรวบรวมคัมภีร์พระไตรปิฎกโดยเฉพาะคัมภีร์พระวินัยและอรรถกถาที่ขาดตกบกพร่อง แล้วเขียนเป็นหมวดหมู่ขึ้น เมื่อเสร็จได้ทำการฉลอลอธรรมวัดพระสิงห์ต่อเนื่องกัน ๗ วัน ๗ คืน หลังจากที่ครูบาฯบูชาอรัญญวาสได้รวบรวมคัมภีร์ในเมืองเชียงใหม่ ท่านได้รับอาราธนาจากเจ้าหลวงอินทวิชัยราชา เจ้าผู้ครองเมืองแพร่ ให้ญฉัชบฤทธิ์อักษรธรรมจากเมืองใหม่มาประดิษฐ์ฐาน ณ วัดสูงเม่น เมืองแพร่ ตลอดเส้นทางจากเมืองเชียงใหม่สู่เมืองแพร่ เจ้าผู้ครองนครและสาธุชนในเมืองท่านเดินทางผ่านส่งให้การต้อนรับอย่างคึกคัก แสดงให้เห็นว่าเจ้าผู้ครองนครและพระพุทธศาสนานในสมัยก่อนให้ความเคารพในพระธรรม และให้ความสำคัญต่องานของพระศาสนาเป็นอย่างยิ่ง ตู้พระธรรมลายองค์ศิลปะล้านนาประยุกต์ซึ่งเจ้าหวงเมืองแพร่และพระชยา สร้างลวัดสูงเม่น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More