การเรียนการสอนอธิธรรมศึกษา 48 ปี วัดพระธรรมกาย : MISSIONS FOR PEACE (ปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ) หน้า 249
หน้าที่ 249 / 368

สรุปเนื้อหา

อธิธรรมศึกษาเริ่มเมื่อปี 2536 มีหลักสูตรพระอภิธรรมบัณฑิต 9 ระดับ และอธิธรรมศึกษาสำหรับสาวก รวมผู้ผ่านการศึกษากว่า 13,000 ท่าน ตั้งแต่ปี 2546-2566 นอกจากนี้ยังมีการสอนภาษาต่างประเทศเพื่อเผยแพร่พระพุทธศาสนาไปทั่วโลก โรงเรียนพระไตรปิฎกเจริญเปิดการเรียนการสอนหลายภาษา เช่น อังกฤษ จีน ญี่ปุ่น เพื่ออำนวยความสะดวกในการเผยแผ่ธรรมะ การสอบธรรมสนามหลวงประจำอำเภอคลองหลวงยังมีผู้สนใจสมัครเรียนจำนวนมากในแต่ละปี รวมทั้งธรรมศาสตร์และการเรียนการสอนแก่สถานศึกษาต่างๆ และ การสอบธรรมศึกษาทั้งฝ่ายพระภิกษุและผู้ศึกษาอีกด้วย

หัวข้อประเด็น

-อธิธรรมศึกษา
-หลักสูตรพระอภิธรรมบัณฑิต
-การเรียนการสอน
-การเผยแพร่พระพุทธศาสนา
-ภาษาต่างประเทศ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อธิธรรมศึกษา ⭐️ การเรียนการสอนอธิธรรมศึกษามีขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๖ โดยเปิดสอน ๒ หลักสูตร คือ ๑. หลักสูตรพระอภิธรรมบัณฑิต ๙ ระดับขั้น ศึกษาอย่างวิริยะอุตสาหะ คำรับรัมนมัสการธาตุกา ยาก และมหาไตรปิฎกในพระไตรปิฎก และนิครนาถ คือ อธิธรรมกิโก ๓ ระดับขั้น และอธิธรรมาจารย์ ๓ ระดับขั้น มีผู้สอบผ่านตั้งแต่ขั้นขั้นสูงสุด จาก พ.ศ. ๒๕๔๖ ถึงปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๖๖) จำนวน ๙,๐๐๐ ท่าน ๒. หลักสูตรอธิธรรมศึกษาสำหรับสาวกและผู้ที่สนใจศึกษา พระอธิธรรม เป็นหลักสูตร ๔ ขั้นปี สามารถศึกษาทางไกล และเข้าฟังบรรยายได้ในวันอาทิตย์ตามสถานที่และเวลาเท่าที่กำหนด มีผู้ผ่านการศึกษาถึงขั้นขั้นสูงสุดตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๖๖ กว่า ๔,๐๐๐ ท่าน ภาษาต่างประเทศ เมื่อจากหมู่คณะวัดพระธรรมกายมีโอกาสที่จะเผยแพร่พระพุทธศาสนา วิชาการธรรมกายนอกไปสู่ประชาชนในประเทศต่าง ๆ ทั้งโลก ดังนั้นพระภิษุสงฆ์สามารถเรียนรู้ความรู้และทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศอย่างเพียงพอ จะได้ไม่เป็นความยากลำบากในการเผยแผ่ธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปสู่ต่างชาติ ด้วยเหตุนั้นโรงเรียนพระไตรปิฎกเจริญเปิดการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศขึ้นหลายภาษา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี สเปน และฝรั่งเศส เพื่อส่งเสริมให้การเผยแพร่พระพุทธศาสนาเป็นไปในกว้างขวางและสะดวกยิ่งขึ้น นอกจากนี้การศึกษาในด้านต่าง ๆ ก็แล้ว โรงเรียนพระไตรปิฎก วิทยาลัยพระธรรมศาสตร์ ยังคณะสงฆ์การด้านวิชาการแก่สถานศึกษาในเขตพื้นที่ จัดตั้งองค์พระสอนศีลธรรมไปสอนธรรมะและจัดสนามสอบธรรมศึกษาแก่สถานศึกษาในเขตอำเภอคลองหลวงที่อยู่ในสังกัดวัดพระธรรมกายหลายแห่ง ได้แก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา โรงเรียนเทศบาลท่าโสม ๑. โรงเรียนสงฆ์อาวุโส วิทยาลัยพระธรรมศึกษา ปัจจุบัน วัดพระธรรมกายยังเป็นสนามสอบธรรมสนามหลวงประจำอำเภอคลองหลวงทุกปี ซึ่งมีผู้สนใจสมัครเรียนและเข้าสอบแต่ละปีเป็นจำนวนมากทั้งบรรพิตและครุศาสตร์ อาทิ ใน พ.ศ. ๒๕๖๐ ฝ่ายนักธรรมพระภิษุ-สามเณรสามารถสอบธรรมสนามหลวงได้ ๒๘ รูป แบ่งเป็นระดับนักธรรม ชั้นตรี ๙ รูป ชั้นโท ๑๖ รูป และชั้นเอก ๑๖ รูป ส่วนฝ่ายธรรมศึกษามีรหัสสอบได้ ๐,๐๕ คูณแบ่งเป็นระดับธรรมศึกษาชั้นตรี ๑๗ คูณ ชั้นโท ๑๓ คูณ และชั้นเอก ๒๓ คูณ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More