พระไตรปิฎกฉบับวิชาการ: วิสัยทัศน์ด้านการศึกษาของวัดพระธรรมกาย 48 ปี วัดพระธรรมกาย : MISSIONS FOR PEACE (ปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ) หน้า 309
หน้าที่ 309 / 368

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงประสบการณ์การศึกษาพุทธศาสติในญี่ปุ่น โดยพระอาจารย์สมบัติ สมมานโล ซึ่งมีการศึกษาเปรียบเทียบคัมภีร์พุทธศาสนาในหลายภาษาและการวิจัยที่สำคัญส่งผลให้ได้รับปริญญาเอก ดร.บรรเจิด ชาวิตรีอรัญธี ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญในการรวบรวมผลงานที่เกี่ยวข้องกับพระไตรปิฎกและการสนับสนุนการศึกษาอย่างต่อเนื่องในอนาคต ผลงานเหล่านี้จะช่วยพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการศึกษาเกี่ยวกับพุทธศาสนาในประเทศไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ.

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาพุทธศาสติ
-พระไตรปิฎก
-งานวิจัยด้านพุทธศาสนา
-การเปรียบเทียบคัมภีร์
-เบื้องหลังการศึกษาที่ญี่ปุ่น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระไตรปิฎกฉบับวิชาการ วิสัยทัศน์ด้านการศึกษาของวัดพระธรรมกาย ดร.บรรเจิด ชาวิตรีอรัญธี “ต้องจะได้ทีมงานช่วยกันบรวบรวมผลงานที่พระไตรปิฎกบาน” พระอาจารย์สมบัติ สมมานโล เคยปฏิสนธิศึกษา ด้านพุทธศาสติฟที่ประเทศญี่ปุ่น ตอนนั้นจึงทำงานเป็น วิศวกรสายโกงบวกกับบริหารเอกสารแห่งหนึ่งในสมัยที่ โทรศัพท์มือคือยังมีปุ่มและเครื่องยังมีเท่า ๆ กัน ภูมิใจในเปลี่ยนสู่ในนี้ ผมเดินทางถึงกรุงโตเกียว ในเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๑๑ พร้อมปริญญาเรียนภาษาญี่ปุ่นเป็น อย่างเต็มที่ จำได้ว่าเป็นช่วงที่เรียนหนักที่สุดในชีวิต เพื่อนพัก อยู่ด้วยกันเล่าให้ฟังว่า“ตอนที่ฝึกเขียนตัวอักษรญี่ปุ่น บางครั้ง ผมผลกลับไปทั้งที่ยังถือปากกาอยู่ แต่เมื่อของผมยังมีวัฏจักรการเขียนตัวอักษรจิดไป จนกระทั่งภาษาญี่ปุ่นพอไปวัดไปได้แล้ว ผมก็เลือกสอบเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยโอตานิน ซึ่งมีชื่อเสียงด้านการศึกษาพุทธศาสตร์ อาจารย์เสรีรัง พันธรงค์ ผู้สร้างคุณูปการสำคัญให้แก่วงการ พุทธศาสตรของไทย ก็รำเรียนและจบการศึกษาจากที่นี่ ยิ่งไปกว่านั้นชุดนี้มีบานที่มอบให้ ญี่ปุ่นในสมัยรั กาที่ ๕ ก็ถูกเก็บรักษาไว้ในของดีมหาวิทยาลัยแห่งนี้อีกด้วย ในตอนนั้นก็ไม่น่า ทราบได้เลยว่า ภารกิจสำคัญกำลังรออยู่ในอีก ๑๐ กว่าปีข้างหน้า การศึกษาพุทธศาสติในประเทศญี่ปุ่นเน้นการวิจัยเชิงลึกมีเปรียบเทียบเพื่อสืบหาคำสอน ดั้งเดิม ตอนนั้นผมเลือกทำวิจัยคัมภีร์นรก คัมภีร์อัศจรรยา (เอกาทรุดรค) และคัมภีร์อุปทาน โดยศึกษาเปรียบเทียบคัมภีร์ดังกล่าวในสายภาษาบาลี สันสกฤต และจีนโบราณ จนกระทั่งสามารถ แสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงและการสืบสายของคัมภีร์ธรรมนั้นได้จนกระจ่าง งานวิจัยเรื่องนี้ทำให้ผม สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านพุทธศาสติในปี พ.ศ. ๒๕๕๐
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More