การศึกษาคัมภีร์พระไตรปิฎกและประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในประเทศไทยและกัมพูชา 48 ปี วัดพระธรรมกาย : MISSIONS FOR PEACE (ปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ) หน้า 315
หน้าที่ 315 / 368

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงงานวิจัยที่มุ่งศึกษาเกี่ยวกับคัมภีร์พระไตรปิฎกและประวัติศาสตร์ของพระพุทธศาสนาในประเทศไทยและกัมพูชา โดยเฉพาะในด้านการศึกษาวิจัยสายการสืบทอดและอักษรโบราณ การทำงานในโครงการศึกษาคัมภีร์พระไตรปิฎกโบราณที่วัดพระธรรมกาย และการตีพิมพ์ในวารสาร JIBS เกี่ยวกับวิธีการอ่านและปริวรรตการถอดเนื้อความจากคัมภีร์โบราณ และการสร้างฐานข้อมูลคัมภีร์โบราณในรูปแบบดิจิทัลจากคัมภีร์ต้นไม้รายในประเทศไทยและกัมพูชาซึ่งมีความสำคัญต่อการศึกษาความเป็นมาของพระไตรปิฎกในภูมิภาคนี้.

หัวข้อประเด็น

- ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
- คัมภีร์พระไตรปิฎก
- การศึกษาคัมภีร์โบราณ
- ฐานข้อมูลดิจิทัล
- อักษรโบราณในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ข้อความต้นฉบับในหน้า

....ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การสัมทอดพระพุทธศาสนาและคัมภีร์พระไตรปิฎกในประเทศไทยและกัมพูชาเพื่อทำให้เรื่องราวเกี่ยวกับต้นกำเนิดของคัมภีร์พระไตรปิฎกอธิบายในประเทศไทยและกัมพูชามีความกระจ่างชัดขึ้น.... หลังจากจบการศึกษาในระดับปริญญาเอก ได้กลับมาทำงานที่โครงการรวบรวมและศึกษา คัมภีร์พระไตรปิฎกโบราณ วัดพระธรรมกาย ประเทศไทย ในตำแหน่งนักวิ302ากร และดูแลงานในส่วนของศูนย์ศึกษา คัมภีร์โบราณซึ่งมีงานอ่านคัมภีร์โบราณจากสายจารึกหลัก (อักษร) คือ อักษรธรรม ประเทศไทยและประเทศลาว อักษรสิงหล ประเทศลังกา อักษรพม่า ประเทศเมียนมา และอักษรซอง ประเทศไทยและกัมพูชา เนื่องจากต้องดูแลในส่วนงานศึกษาคัมภีร์โบราณในเครือเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงต้องศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในบริบททางประวัติศาสตร์ ทั้งโดยภาพรวมและการสืบทอดคัมภีร์พระไตรปิฎกและพระพุทธศาสนาในภูมิภาคนี้ ตลอดจนบริบทที่เกี่ยวเนื่องกับอักษรโบราณ และแนวทางการอ่านและปริวรรตถอดเนื้อความจากคัมภีร์โบราณอีกด้วย จึงได้ศึกษาวิจัยและเขียนบทความวิชาการลงตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการในประเทศญี่ปุ่น JIBS (Journal of Indian and Buddhist Studies) โดยที่ได้ลงตีพิมพ์ไว้บางส่วน เป็นงานวิจัยในหัวข้อ "Developing Database of the Pāli Canon from the Selected Palm-leaf Manuscripts : Method of Reading and Transliterating the Dighanikāya in Khom and Tham Scripts" ซึ่งเป็นงานวิจัยที่เกี่ยวกับแนวทางการสร้างฐานข้อมูลคัมภีร์โบราณจากคัมภีร์ในรูปแบบดิจิทัล และการอ่านปริวรรตอักษรโบราณโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีทีพบตัวอักษรหักกิ่ง หรือไม่ชัดเจน มีกรณีตัวอย่างในกรณีศึกษาในงานในภาคการทำงานมาประกอบด้วย นอกจากนี่ยังได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศาสนาสัมพท้อนพระพุทธศาสนา และคัมภีร์พระไตรปิฎกในประเทศไทยและกัมพูชา เพื่อทำให้เรื่องราวเกี่ยวกับต้นกำเนิดของคัมภีร์พระไตรปิฎก อธิบายด้วยประเทศไทยและกัมพูชามีความกระจ่างขึ้น โดยงานวิจัยนี้จะแบ่งการวิจัยเป็น 2 ส่วน คือ ศึกษาวิจัยจากฐานข้อมูลทางประวัติศาสตร์ และศึกษาวิจัยจากการเปรียบเทียบเนื้อหาที่ปรากฏในคัมภีร์โบราณในส่วนการศึกษาจากข้อมูลฐานข้อมูลทางประวัติศาสตร์ พบว่าข้อมูลหลักฐานการสืบทอดคัมภีร์พระไตรปิฎกในองค์พระอัฐิที่เกี่ยวเนื่องกับสายมักหลักฐานที่จัดเป็นจำนวนมากซึ่งแตกต่างจากข้อมูลหลักฐานการสืบทอดคัมภีร์พระไตรปิฎกในอาณาจักรที่เกี่ยวเนื่องกับกัมพูชา ซึ่งพบเพียงหลักฐานโดยทางอ้อมและจำนวนนน้อย โดยผลงานวิจัยนี้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารในหัวข้อ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More