ข้อความต้นฉบับในหน้า
...แม้ตลอดระยะเวลา ๑๗ ปีที่ผ่านมา การเรียน การเผยแผ่
และความเป็นอยู่ ต้องฟันฝ่าอุปสรรคจากหนามน้ำนแท๊ไป
แต่ไม่เคยคิดท้อถอยเลยแม้สักครั้งหลวงพ่อมัจฉะ
ผู้เปรียบเสมือนตะวันธรรมด๋งแสงสว่างนำทางลูก ๆ มาตลอด
โดยไม่เห็นแก่อามเหนื่อยยาก...
◆ เมื่อศึกษาขั้นระดับปริญญาโทและปริญญาเอกได้ชื่อเรื่อง “สมภาวิษณาในคัมภีร์พระพุทธศาสนา
ยุคต้นองค์ครูตรภายเหนือและใต้ได้” โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเด็นความเข้าใจเรื่อง “ความจำเป็น
ของความสมาธิต่อการบรรจงธรรม” ซึ่งจากการวิจัยสามารถบ่งได้ว่า
ในคัมภีร์ที่อัญญูได้ปฏิบัติและพระสูตรตัดสินได้กล่าวอย่างชัดเจนว่า “สมสมาบัติ...
มีความจำเป็นต่อการบรรจงธรรม” ◆ ต่อมาในยุคอรรถกถาช่วงต้น ยังได้ให้ความสำคัญของ “สมานสมาบัติ” เช่นเดียวกับในยคต้น
โดยใช้ศัพท์เฉพาะว่า “อัปปนามสมาธิ” แต่ในขณะเดียวกัน ได้ให้ทางที่ ๒ คือ “สมาธิในระดับเนียม
าม” หรือ “อุปจารสมาธิ” เอาไว้ด้วย ◆ ในยุคอรรถกถาช่วงมา ได้เพิ่มสมาธิในระดับที่ต่ำกว่า “อัปปนามสมาธิ” และ “อุปจารสมาธิ”
เข้าไป คือว่า “สมาธิชั้นวนะ” หรือ “ฌานสมาธิ” นั่นเอง
กล่าวโดยสรุป คือ ในคัมภีร์ต้นต้องอาศัย “สมานสมาบัติ” เป็นบันไดเบื้องต้นในการบรรจงธรรม แต่ในยุคอรรถกถา แม้สมาธิระดับนี้ไม่ถึงสมามติอย่าง “ฌานสมาธิ” หรือ “อุปจารสมาธิ” ก็เป็นบันไดเบื้องต้นในการบรรจงธรรมได้ นับเป็นวิวัฒนาการของดีความจากคัมภีร์ “ยุคต้น” ถึง “ยุคอรรถกถา” ที่พบ (ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมงบสามารถในจารสาร “ธรรมธารา” เล่ม ๑ หน้า ๑๙๙-๒๐๙ เล่ม ๔ หน้า ๑๑๗-๒๓๐) ◆ จากผลการวิจัยดังกล่าว ทำให้อาตมภาพยังงี้ในคำสอนของพระเดชพระคุณหลวงปู่
วัดปากน้ำ หลวงพ่อมัจฉะ ที่กล่าวถึงวิธีการปฏิบัติธรรมเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมโดยให้ความสำคัญ
ต่อ “สมานสมาบัติ” ในการบรรจงธรรม เอาเป็นเด็ยงกัน “คัมภีร์ยุคต้น” กล่าวคือ สมา (= สมานสมาบัติ)
นับไป วีปศนฺ (= ญาณทํานะ) นั่นเอง แม้ตลอดระยะเวลา ๑๗ ปีที่ผ่านมา ทั้งการเรียน การเผยแผ่ และความเป็นอยู่ ต้องฟันฝ่า
อุปสรรคจากหนามน้ำนแท๊ แต่ไม่เคยคิดท้อถอยเลยแม้แต่คิดถึงหลวงพ่อมัจฉะผู้เปรียบเสมือน
ตะวันธรรมด๋งแสงสว่างนำทางลูก ๆ มาตลอด โดยไม่เห็นแก่อามเหนื่อยยาก เป็นผู้อยู่เบื้องหลัง
ความสำเร็จของลูก ๆ ทุกคน ทุกบุญ ทุกคน นับเป็นบุญลูกอันสูงสุดของอาตมภาพและเพื่อนนึ้จะสร้างร่ม
ที่ได้สร้างบารมีเท่ามาในมาของหลวงพ่อมัจฉะ “พระพ่อ” ของพวกเราทุกคน