การเห็นและระบบการประมวลผลของสมอง ทันโลกทันธรรม 1 หน้า 30
หน้าที่ 30 / 101

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงกระบวนการทำงานของการเห็น โดยเริ่มจากการมีแสงกระทบวัตถุที่มองเห็น การเข้าสู่ตาผ่านเลนส์ไปยังจอประสาทในตา และการแปลงสัญญาณให้เป็นภาพในสมองในส่วนท้ายทอย ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเห็น นอกจากนี้ยังนำเสนอการสังเกตพฤติกรรมการมองเห็นที่อาจเกิดขึ้นเมื่อเราต้องคิดถึงเรื่องอื่นๆ ขณะมองสิ่งต่าง ๆ โดยที่ไม่ทำให้เราสังเกตเห็นภาพที่อยู่ตรงหน้าได้อย่างชัดเจน

หัวข้อประเด็น

-กระบวนการมองเห็น
-การทำงานของสมอง
-การตีความภาพ
-ระบบประสาท

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กระแหม่สมชาย ธานวชูโชติ ม.ด., พ.ฮ. แบบแพทย์ โดยถามเขาว่า เวลาเรามองเห็นสิ่งต่าง ๆ จะเป็นดอกไม้ หรือภาพวิวทิวทัศน์ เรามองเห็นเพราะอะไร เรื่องนี้เขาตอบได้สบาย เลยเพราะเป็นนักการแพทย์ เขาบอกว่าเป็นเพราะมีแสงไปกระทบ สิ่งนั้นแล้ววิ่งมาเข้าตาเรา พอแสงเข้าตาเราก็จะผ่านเลนส์ตาแล้วไปตก ที่ตราบน คืออัจฉริภาพซึ่งอยู่ด้านหลังของกระบอกตา เสร็จแล้วแสงก็จะ ถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณประสาท วิ่งไปตามเส้นประสาทตา ไปที่สมอง ส่วนท้ายทอยซึ่งเป็นศูนย์กลางการเห็น ทางการแพทย์เรียกว่า visual area บางคนถูกตีที่ท้ายทอยแล้วเห็นดาวขึ้นระยิบระยับ ก็เป็นเพราะ ถูกกระทบกระเทือนที่ศูนย์กลางการเห็นนี้เอง ถ้าตามการแพทย์คำนี้คือว่าจอการเห็นครบแล้ว แต่ขอภาพ บอกเขาไปว่า จริงแล้วนั้นยังไม่ครบ สัญญาณการเห็นจะต้องวิ่งจาก ศูนย์กลางการเห็นที่สมองไปที่ใจเสี่ยงก่อน วงจรการเห็นจะครบถ้วน ถ้าไม่เชื่อให้ลองสังเกตดู บางครั้งรายันมองไปนอกหน้าต่างด้วยใจ เหมือนไล่ไปคิดถึงเรื่องอื่น อาจจะฟังเพลงอยู่หรือคิดนั่นคิดนี่อยู่อย่างตาม พอสักพักเราหันหน้ากลับมา ถามใครถามเราว่า เมื่อลักษุเรามองออก ไปทางหน้าต่างเราเห็นอะไร เราจะพบว่าเราไม่รู้เหมือนกันว่าเห็นอะไร ถามขณะขณะเรามองผ่านหน้าต่างอยู่นั้น มีแสงวิ่งไปรกระทบภาพผิว ทิวทัศน์ข้างหน้าแล้วเข้าตาของเราไหม คำตอบคือ มันเป็นอัตโนมัติอยู่ แล้ว เมื่อแสงเข้าตาก็จะวิ่งไปที่จอรับภาพแล้วถูกแปลเป็นสัญญาณ ประสาทไปตามเส้นประสาท แล้วส่งสัญญาณไปส่วนตายยอด ที่ศูนย์กลางการเห็นเป็นอัตโนมัติ แล้วทำไมเราถึงไม่เห็น เพราะขณะ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More