ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักกับอัตตัปปะต่างกันดังนี้ หลักความละอายต่อบาป ถ้าจะเปรียบก็เหมือนกับว่า เราเห็นเหลักเปื้อนจงอยู่ทว่าหนึ่ง เรามีความรู้สึกเกรงกลัวไม่อยากจะแจ้งต้องเหลักท่อนั้น ความรู้สึกเกรงนี้เปรียบได้กับหลักความละอายบาป ไม่อยากทำบาป ถ้าจะให้ทำมันรู้สึกฝันใจ ส่วนอัตตัปปะความเกรงกลัวบาป ก็คือเกรงกลัวต่ออำนาจผลบาปที่ทำ เปรียบเหมือนว่า มีเหลักอยู่ท่อนไหนเอาไปเผาไฟให้ร้อนแดง เราย่อมไม่กล้าจับเหลักท่อนั้น กลัวมันจะไหม้มือ อาการอย่างนี้เปรียบได้กับอัตตัปปะความเกรงกลัวบาป ใครก็ตามที่มีอริอัตตัปปะ คนคนนั้นจะเป็นคนที่สามารถคุ้มครองตัวเองให้ปลอดภัยในโลกนี้ และมีความสุขในโลกหน้าได้ หรืออัตตัปปะท่านเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เทวธรรม คือธรรมที่ทำให้เป็นเทวดา ใครก็ตามที่มีอริอัตตัปปะแล้ว แม้อยู่บนโลกก็เป็นเสมือนเทวดาเดินดิน ละโลกไปแล้วก็ไปเป็นเทวดาจริง ๆ เพราะอายาบปลวกบาปจงละเว้นจากความชั่วบาปอุกคุล หากชาวโลกมีอริอัตตัปปะกันทั่วหน้า สังเวิร์ด้ต่าง ๆ บนโลกจะดีแน่ เพราะปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ล้วนเกิดจากการที่คนเราขาดความละอายและเกรงกลัวต่อบาป ยกตัวอย่างเช่น การตัดไม้ทำลายป่าทั้งที่รู้ว่าไม่ดี รู้ผิด แต่อยากได้ของใงจึงยอมทำสิ่งที่ผิด สิ่งแวดล้อมก็เสียหาย การปล่อยน้ำเสียลงแม่ค้านก็รู้ยังรู้ว่าไม่ถูกต้อง แต่ไม่ยอมลงทุนขุดบ่อบำบัดน้ำเสีย เพราะไม่อยากเปลืองเงินจึงปล่อยน้ำเสียลงแม่น้ำไป คนอื่นจะเป็นอย่างไร สิ่งแวดล้อมจะเสียหายอย่างไรก็ช่าง ปัญหากำเกิด