ความสมดุลระหว่างร่างกายและจิตใจในการรักษา ทันโลกทันธรรม 1 หน้า 86
หน้าที่ 86 / 101

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้ มีการพูดถึงความสำคัญของการปรับสมดุลระหว่างร่างกายและจิตใจเพื่อการรักษา โดยยกตัวอย่างการทดลองที่แสดงให้เห็นว่า คำพูดเชิงบวกสามารถส่งผลต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วยได้ อธิบายว่าการรักษาไม่เพียงแต่เกี่ยวข้องกับยา แต่ยังขึ้นอยู่กับสภาพจิตใจด้วย ซึ่งสามารถทำให้สุขภาพดีขึ้นได้เมื่อมีจิตใจที่ผ่องใสและดี.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของสมดุลระหว่างร่างกายและจิตใจ
-ผลกระทบของจิตใจต่อสุขภาพ
-การทดลองเกี่ยวกับการฟื้นตัวของผู้ป่วย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระมนัสมาศ ธนวัฒโน M.D., Ph.D. แต่เมื่อใดการเปลี่ยนแปลงมันมากจนเกินขอบเขตปกติ เมื่อบั้น เราก็จะป่วย เพราะว่าผลต่างๆ ของร่างกายมันปรุงแต่งไม่สมดุลเสีย แล้ว แต่การป่วยถือเป็นภาวะสมดุลชั่วคราว ถ้าเราปรับสมดุล บางคน เรียกว่าปรับรดุ ให้เข้าสู่ภาวะสมดุลใหม่ได้เมื่อไหร่ เราก็จะหายป่วย ดัง นั้น ที่หมอรักษาคนป่วย โดยให้ยามาทาน หรือใช้วิธีการต่างๆ สารพัด นั้น แท้จริงแล้วเป้าประสงค์มีเพียงว่า เพื่อหาทางให้โลกการทำงาน ของร่างกายเรากลับเข้าสู่ภาวะสมดุลอีกครั้งหนึ่ง จะได้หายป่วย แต่ว่า คนเราไม่ได้มีกายอย่างเดียวแต่มีใจด้วย ซึ่งทั้งสอง ส่วนนี้ส่งผลเนื่องถึงกัน ถ้าหากจิตใจผ่องใสสุข เช่น ร่างกายก็จะพลอย แข็งแรงไปด้วย แต่ถ้าเมื่อใดจิตใจดุหยู่เศร้าหมอง มีเรื่องกลุ่มใจก มาก ร่างกายก็จะพลอยป่วยตาม สมัยที่อาตมภาพเขียนแพทย์อยู่ อาจารย์เล่าให้ฟังว่า เคยมีการ ทดลอง เอาคนป่วยสองคน ป่วยด้วยโรคเดียวกัน อาการหนักเบาใกล้ เคียงกัน ทั้งอายุ สุขภาพทุกอย่าง ถือว่าพื้นเดิมอยู่ในระดับใกล้เคียง กันมาก จากนั้นให้ผู้ป่วยแยกอยู่กันคนละห้อง ที่ห้องของผู้ป่วยคนหนึ่ง ปลายเตียงเขียนคำว่า “วันนี้เราแข็งแรงขึ้นอีกนิดแล้ว” เมื่อผู้ป่วยมอง ไปที่ปลายเตียง ก็จะเห็นคำพูดนี้เสมอ but another room, the other side, the bed is written, “Today we are a little stronger again.” When the patient looks at the end of the bed, he will see this statement all the time.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More