ทัณฑโลก ทัณฑธรรม ทันโลกทันธรรม 1 หน้า 96
หน้าที่ 96 / 101

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงความสำคัญของการควบคุมทรัพย์สินและไม่ให้เงินเป็นนายเรา เราควรใช้เงินอย่างถูกต้องเพื่อสร้างความสุขในชีวิตและพัฒนาตนเอง โดยยกตัวอย่างการบริโภคที่ไม่เหมาะสมเมื่อมีตระหนี่ แม้จะมีทรัพย์มากก็ไม่ควรใช้ชีวิตอย่างไร้คุณค่า ปล่อยให้ทรัพย์สินเป็นนายเราคือการสูญเสียโอกาส ใช้เงินอย่างชาญฉลาดจะนำไปสู่ความสุขในปัจจุบันและอนาคต.

หัวข้อประเด็น

-การใช้ทรัพย์สินอย่างมีสติ
-การไม่ให้เงินเป็นนาย
-เหตุผลในการใช้จ่าย
-ความสุขจากการใช้ทรัพย์อย่างถูกต้อง
-ตัวอย่างเชิงบวกและเชิงลบในการใช้เงิน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ทัณฑโลก ทัณฑธรรม 1 ต้องมาตอบสนอง เพื่อให้เรามีความสุขในงานนี้ และใช้เป็นอุปกรณ์แสงบุญเป็นเสียบติดตัวไปในภพเขาหน้า จนกระทั่งถึงเป้าหมายอย่างยิ่งคือ พระนิพพานในที่สุด อย่างนี้จึงจะได้ มีคนกล่าวไว้ว่าความว่า เงินเป็นข่าวดีแต่เป็นนายที่เลว คือใครปล่อยให้ตัวเองเป็นทาสของเงิน เมื่อนั้นจะมีความทุกข์มาก ถ้าหากเงินมาเป็นเจ้าเข้าครองบำหวังใจ เราก็จะแย่ แต่เมื่อเราเป็นนายของเงิน คือ มีทรัพย์แล้วสามารถใช้ทรัพย์ให้เป็นประโยชน์ในภพนี้ เป็นประโยชน์ในภพหน้และเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง เราก็จะมีความสุขในชีวิต เราต้องใช้ลอยเงินได้ถูกต้องตามบทบาทหน้าที่ของมัน อย่าให้เงินเป็นนายเรา แต่เราต้องเป็นนายเงิน หากทรัพย์ใดต้องใช้ทรัพย์เป็น รู้ค่าของทรัพย์ แล้วก็ใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เราคงเคยได้ยินเรื่อง มีเศรษฐีบางคนรวยมากแต่เวลาไปซื้อมะม่วงก็ซื้อมะม่วงที่มันเริ่มเน่าแล้ว ราคาาจะถูก ๆ เสร็จแล้วก็มา ตัดส่วนเน่าออก รับประทานส่วนที่เหลือ มันจะช้า ๆ และ ๆ บางก็ฝืนกินได้ จะซื้อมะม่วงดี ๆ มารับประทานก็กลัวว่าทองจะร่อยหรือไป ทั้งที่ความจริงแล้วทรัพย์ที่เขามีนั้นต่อให้นำไปซื้อของดี ๆ ทานตลอดชาติก็ไม่ได้ร่อนใหล้สักเท่าไหร่ แต่เขาก็พอใจจะบริโภคของเสีย ๆ เพราะความตระหนี่ บางคนมีเสื้อผ้าดี ๆ มาถามเต็มตู้แต่กลับไม่ใช้เพราะกลัวมันจะเก่า ใส่แต่เสื้อผ้าขาด ๆ ปุ ๆ ปะ ๆ อย่างนี้ก็เกินไป ปล่อยให้ทรัพย์สินมาเป็นนายเราเสียแล้วเสียท่าเลย www.kalyanamitra.org
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More