พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำอธิบายของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (4) หน้า 5
หน้าที่ 5 / 25

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอเกี่ยวกับแนวคิดความหลากหลายของคำอธิบายจากพระพุทธเจ้าในพระพุทธศาสนามหายาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่อง “กรรม” และ “สังสารวัฏ” ที่ถูกนำมาอธิบายใหม่ใน “ปรัชญาปารมิตาสูตร” ตัวอย่างเช่น การใช้บัตรสะสมแต้มในร้านสะดวกซื้อเพื่อให้เข้าใจถึงการแลกเปลี่ยนและการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่ได้รับอย่างหลากหลาย นอกจากนี้ยังอธิบายถึงความหมายและการประยุกต์ใช้คำว่า “ฌาน” ในบริบทต่างๆ ที่อาจแตกต่างกันในปัจจุบัน เมื่อเทียบกับการทำความดีและการตรัสรู้ธรรม.

หัวข้อประเด็น

-ความหลากหลายของคำอธิบาย
-แนวคิดกรรมในมหายาน
-ปรัชญาปารมิตาสูตร
-การประยุกต์ใช้แนวคิดในชีวิตประจำวัน
-ความหมายของฌานในปัจจุบัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระพุทธศาสนามหายาน : เหตุใดคำอธิบายของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (4) Mahayána Buddhism: Reasons for Diversity in the Buddha’s Teachings (4) บทที่ 2 การแผ่ขยายของแนวคิด “ศูนย์ตา” : ปรัชญาปารมิตาสูตร (ตอนจบ) “ศูนย์ตา” ที่พระศากยมุนีพูดเจตนารสังสังกล่าว¹ อาจารย์ : พระพุทธศาสนามหาายานได้แนวคิดเรื่อง “กรรม” กับ “สังสารวัฏ” มาใช้ในแนวทางที่แตกต่างไปจากเดิม ซึ่งแนวคิดนี้เรียกว่ากรรม"² แต่เดิมเป็นสิ่งที่ไม่อาจเป็นไปได้ แต่ใน “ปรัชญาปารมิตาสูตร” กลับนำมอธิบายจนกลายเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ และสำหรับหลักการที่พระสูตรนี้นำมาอธิบาย มีหลักการคล้ายเรื่องดังต่อไปนี้ เวลาที่จะอธิบายแนวคิดในเรื่องนี้ ผมมักจะยกตัวอย่างในเรื่องของ “บัตรสวมแต้ม” ในร้านสะดวกซื้อขึ้นมาอธิบายเพื่อให้เข้าใจ โดยทั่วไป สำหรับผู้ที่ไม่ค่อยเข้าใจเรื่องของบัตรสวมแต้มในร้านสะดวกซื้อ มักเข้าใจว่า แต่มาสมทีได้จากร้านสะดวกซื้อนั้นต้องกลับไปใช้ที่ร้านสะดวกซื้อนั้นอีก หรือถ้าแต้มที่สะสมนี้ได้มาจากการซื้อข้าวกล่อง เวลาจะใช้แต้มก็ต้องแลกซื้อได้เฉพาะข้าวกล่องเท่านั้น แต่ในระบบสะสมแต้มที่ว่า ยังสามารถนำไปใช้ในเรื่องอื่นๆ ได้อีกมากมาย เช่น ถ้าเราสะสมแต้มได้มากพอ ก็สามารถนำไปแลกเป็นโปรแกรมการท่องเที่ยว ทำให้เราสามารถไปเที่ยวที่อ่าวายได้ด้วยเป็นต้น ____________________ ¹ ผู้แปล : เริ่มจากหน้า 55 เป็นต้นไป ² คำว่า “ฌาน” หรือ “ฌาน” (eko) คือ การที่เปลี่ยนบุญที่เกิดขึ้นจากผลของการทำความดีของตนเอง ไปเป็นการตรัสรู้ธรรมของตนเองหรือผู้อื่น แต่ในปัจจุบันคำนี้ถูกใช้อยู่ในลักษณะที่เราได้ยินมักพระมาสวดมนต์สายธรรม และอุทิศให้แก่ผู้ที่โลกไปแล้ว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More