ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมนาร วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา
ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (ฉบับรววิม 13) ปี 2564
212
นักศึกษา: กลายเป็นเรื่องที่เหนือธรรมชาติแล้วนะครับ พอมีการกล่าวถึงอานุภาพที่เหนือธรรมชาติและก้าวล่วงปัญหาของมนุษย์ไป การที่ย้อนถามถึงที่มาหรือความหมายต่างๆ ก็จะกลายเป็นเรื่องที่เปล่าประโยชน์ไม่ใช่หรือครับ แต่แม้จะเป็นเช่นนั้น ทำไม "ปรัชญา-ปรมิติสูตร" ถึงมีความจำเป็นที่จะต้องให้แนวคิดเรื่อง "ศูนยตา" แบบใหม่เช่นนี้ด้วยครับ?
อาจารย์: นั่นเป็นเพราะ มีความจำเป็นที่ลึกเกลี้ยงไม่ได้ ที่จะต้องเปลี่ยนแปลงแนวคิดในเรื่องหลักของเหตุและผล กล่าวคือ ตราบเท่าที่แนวคิดในเรื่อง "กฎแห่งกรรม" ที่พระคาถามูลทุตเจตจารย์สิง ยังคงเป็นหลักการพื้นฐานอยู่ การที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งจะบรรลุธรรมขั้นสูงสุดได้นั้น มีความจำเป็นที่จะต้องลงมือปฏิบัติธรรมอย่างยิ่งยวดเพื่อเป็นกฎิ่งจรรงรมต่าง ๆ ที่จะทำให้ต้องเวียนเกิดเวียนตาย นั่นคือ การอุบและประกฎปฏิบัติธรรมเพื่อจัดเกลอสังทั้งหมดให้หมดไปเป็นสำคัญ
แต่ถ้าเรื่องหลักของเหตุและผลมีการปรับเปลี่ยนไป ทำให้สามารถโอนถ่ายและเปลี่ยน "กฎธรรมในชีวิตประจำวัน" ไปเป็นปัจจัยใน "การบรรลุธรรม" ได้ ย่อมนเป็นการลดความลำบากในการประพฤติปฏิบัติ ที่ว่า แม้จะเป็นการลดความลำบากในการประพฤติปฏิบัติกรรมได้ กล่าวคือ แม้จะเป็นกฎหลักผู้รักษาร ไม่ได้ออกวงและประกฎปฏิบัติธรรมอย่างยิ่งยวดาก ก็สามารถเข้า สู่สึกแห่งความเป็นพุทธะได้เช่นเดียวกัน และเพื่อให้เป็นเช่นนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องข้ามเรื่องธรรมชาติดังที่พระคาถามุณีพระคายุเนพิพากษาไว้และปรับเปลี่ยนหลักการของ "ศูนยตา" ใหม่เสีย