ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมาธรรม วรรณสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา
ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่ม 13) ปี 2564
รวมอยู่ในองค์ประกอบที่ร่วมกันขึ้นเป็น “ตัวเรา” ด้วย ดังนั้น “ร่างกาย” และ “กระบวนการทำงานของใจ” จึงถูกประสานกันอย่างต่อเนื่องและแปรเปลี่ยนไปเรื่อยๆ โดยประสานสัมพันธ์ต่างๆ เช่น ตา หู เป็นต้น ซึ่งเกิดขึ้นชั่วขณะและหาความมั่นคงใดๆ ไม่ได้ สิ่งนี้เองที่พระศากยมุนี- พุทธเจ้าเรียกว่า “ตัวเรา” และเมื่อเป็นเช่นนี้ พระพุทธองค์จึงทรงตรัสว่าว่า “จงพิจารณาเห็นโลกนี้โดยความว่างเปล่า”
แม้องค์ประกอบที่ร่วมตัวกันเป็นโลกก็ไม่มีอยู่จริง
นักศึกษา : “ศูนย์ตา” ของพระศากยมุนีพุทธเจ้า คือ การที่เราเชื่อกันว่า “สิ่งนั้นสิ่งนี้มีอยู่จริง” ซึ่งรวมถึง “ตัวเรา” ด้วยนั้น แต่แท้ที่จริงแล้ว กลับเป็นสิ่งที่ไม่มีอยู่จริง (สพเพ ธัมมา อนัตตา13) ตรงนี้ไม่มีความแตกต่างกันระหว่าง “ศูนยตา” ใน “พระพุทธศาสนาของพระศากยมุนี” กับ “ศูนยตา” ใน “ปรัชญาอปราโมกข์” แต่ความ “ปรัชญาอปราโมกข์” ยังได้กล่าวว่า “นิธิ 5” ที่พระศากยมุนีพุทธเจ้าตรัสถึง ก็เป็นสิ่งที่ “ไม่อยู่จริง” นอกจากนั้น สิ่งที่พระศากยมุนีพุทธเจ้าตรัสถึง “สัพเพ สังขารัง...”
13 ผู้แปล : ภาษาอังกฤษใช้คำว่า 諸法無我 (shoōmuga)