องค์ประกอบของใจและอายตนะในพุทธศาสนา พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (4) หน้า 9
หน้าที่ 9 / 25

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้ได้อธิบายถึงส่วนที่เกี่ยวข้องกับ 'ใจ' ในพุทธศาสนา ซึ่งประกอบด้วย 'เวทนา', 'สัญญา', 'สังขาร', และ 'วิญญาณ' โดยเฉพาะ อายตนะ 12 ที่แสดงถึงการรับรู้อารมณ์และการตอบสนองต่อสิ่งภายนอก นอกจากนี้ยังได้พูดถึง 'ธาตุ 18' ที่รวมทั้งอายตนะภายในและภายนอก ภายใต้การใช้ความเข้าใจที่ซับซ้อนซึ่งมีการเชื่อมโยงกัน เพื่อแสดงให้เห็นว่าโลกของเราประกอบด้วยปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆ ตามหลักเหตุและผล

หัวข้อประเด็น

-ส่วนประกอบของใจ
-เวทนาและการรับรู้
-อายตนะ 12
-ธาตุ 18
-ความซับซ้อนขององค์ประกอบ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ส่วนที่เหลืออีก 4 อย่าง คือ ส่วนที่เกี่ยวข้องกับ "ใจ" กล่าวคือ "เวทนา" เป็นการรับความรู้สึกจากภายนอกที่เข้ามา "สัญญา" เป็นการนึกคิดในเรื่องราวต่างๆ "สังขาร" เป็นการตั้งใจที่จะทำหรือปรุงแต่งสิ่งใดสิ่งหนึ่ง "วิญญาณ" เป็นการรับรู้ด้วยใจ นอกจากนี้ ยังมี "อายตนะ 12" อายตนะภายใน 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ และอายตนะภายนอก6 คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมร่วมฺ หรือ "ธาตุ 18" (อายตนะ 12 และวิญญาณ 6) คือ จักข-วิญญาณ โสตวิญญาณ มนวิญญาณ วิภาววิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ รวมเป็น 18) ดังจะเห็นได้ว่า มีวิธีแบ่งออทเป็นรูปแบบต่างๆ มากมาย ซึ่งมีความซับซ้อนและสัมพันธกันไปตามลำดับด้วยเหตุนี้ โลกของเราจึงประกอบกันขึ้นด้วยองค์ประกอบและปัจจัยต่างๆ ตามหลักเหตุและผลังกล่าว 8 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 十八界 (juhakkai) 9 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 六根 (rokkon) 10 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 六境 (rokkyō) 11 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 十八界 (juhakkai) 12 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 六識 (rokushiki)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More