ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมา วรรณวัตรวิชาการทางพระพุทธศาสนา
ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวบรวมที่ 13) ปี 2564
นอกจากนี "ปรัชญาปรมิตคุต" ยังได้แนะนำเพิ่มเติมเรื่องของ "การเขียนหรือตำรา" เขาไป นอกเหนือจากการท่องสดาสายาย ซึ่งในปัจจุบันได้พัฒนาเป็น "การคัดลอกพระสูตร" นับเป็นวิธีการหนึ่งในกฏบาลพระพุทธของค์ อันส่งผลให้ "ปรัชญาปรมิตคุต" แผ่ขยายออกไปอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง
นักศึกษา : "การคัดลอกพระสูตร" มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ "ปรัชญาปรมิตคุต" แผ่ขยายออกไปอย่างกว้างขวาง และในภายหลังได้ มีบางคนมามาเป็นขยายผลหรือครับ ?
อาจารย์ : นับเป็นเรื่องที่น่าสนใจมาก เพราะใน "ปรัชญาปรมิตคุต" ได้กล่าวเอาไว้ตั้งแต่เนื้อหาตอนต้นว่า "จงสาธยาย จงจาริก จงแพร่ขยาย 'ปรัชญาปรมิตคุต' ออกไป" อันเป็นการทำให้พระสูตรนี้ได้รับการคัดลอกและแผ่ขยายออกไปในวงกว้าง ในปัจจุบัน เราจะพบชุดหนังสือ "ปรัชญาปรมิตหฤทัยสูตร" พร้อมชุดคัดลอกพระสูตร วงแผขยายอยู่ในร้านหนังสือเป็นจำนวนมาก ดังจะเห็นได้ว่า วิธีการแผขยายพระสูตรนี้ออกไปตั้งแต่ครั้งอดีต ยังได้ส่งผลมาถึงในปัจจุบันด้วย นับเป็นเรื่องที่น่าทึ่งมากทีเดียว
19 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 既释 (shakyo)
20 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า [殿若心経](hannyashingyo) มีชื่อเต็มว่า [般若波羅蜜多心经](hannyaharamittashingyo) บ้างเรียกชื่อโดยย่อของพระสูตรนี้ว่า 『心経』(shingyo) หรือ Heart Sutra ในภาษาอังกฤษ เป็นพระสูตรหนึ่งในกลุ่มคัมภีร์ "ปรัชญาปรมิตคุต" ที่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง