ธรรมจาริ วรรธนวิจารณ์พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (4) หน้า 20
หน้าที่ 20 / 25

สรุปเนื้อหา

บทความนี้วิเคราะห์เกี่ยวกับธรรมจาริในปีที่ 7 ฉบับที่ 13 และปรัชญาปรามิตาทฤษฎีสุดของพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นพระสูตรที่เขียนลงบนร่างกายของธรรมาจารย์โยะ 24 มีเสน่ห์และซับซ้อนในการให้ความรู้เกี่ยวกับอนุภาพเหนือธรรมชาติ โดยนักศึกษาและอาจารย์ร่วมสนทนาเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของพระสูตรนี้ ในการจดจำและขจัดวิญญาณชั่วร้าย

หัวข้อประเด็น

-ธรรมจาริ
-ปรัชญาปรามิตาทฤษฎี
-ความสัมพันธ์ระหว่างมนต์และพระสูตร
-การเขียนพระสูตรบนร่างกาย
-การอภิปรายในชั้นเรียน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมจาริ วรรธนวิจารณ์พระพุทธศาสนา ปีที่ 7 ฉบับที่ 13 (ฉบับพฤษภาคม 13) ปี 2564 ไหมครับ ? นักศึกษาฯ : ครับ เป็นเรื่องราวของธรรมนาจารย์โยะ 24 ที่เขียนพระสูตร ลงบนร่างกายของตนเอง และนำดีดดีผ้า (ผู้เขียน : เป็นเครื่องดนตรี ประเภทเครื่องสายอย่างหนึ่งของจีน) ทามกลางมนุษย์ทั่งหลาย แต่ว่า มีเพียงจุดเดียวที่ไม่ได้เขียนอักขระลงไป คือ บริเวณนุฯ้วยเหตุนี้ จึงถูก อมมนุษย์ทั้งหลายยิ้มไป ...... เป็นเรื่องที่น่ากลัวเหมือนกันนะครับ อาจารย์ : ครับ และในเวลานั้น พระสูตรที่เขียนลงบนร่างกายของ ธรรมาจารย์โยะนี้ คือ “ปรัชญาปรัมีทฤษฎีสุด” ซึ่งเป็นพระสูตรหนึ่ง ในกลุ่มคัมภีร์ “ปรัชญาปรัมีทฤษฎี” นั้นเอง กล่าวคือ “ปรัชญาปรามิ- ตาหทัยสูตร” นี้ได้ปรากฏเป็นพระสูตรที่อนุภาพในการจดจำตาเป วิญญาณชั่วร้าย ด้วยเหตุนี้ จึงกล่าวว่า ตัวพระสูตรนี้เองเป็น “มนต์” นั่นเอง นักศึกษาฯ : เป็นเพราะว่า มีสิ่งที่เป็นอานภาพเหนือธรรมชาติดังอยู่ ในเนื้อหาของพระสูตร จึงทำให้ตัวพระสูตรองค์พลอยมีอนุภาพเหนือ ธรรมชาติโดดเด่นไปด้วย ไม่ทราบว่าผมคิดถูกไหมครับ ? อาจารย์ : ไม่ได้เป็นเช่นนั้นนะครับ มีภาระูใน “ปรัชญาปรามิ- ตาหทัยสูตร” ว่าเป็น “พระสูตรนี้เป็นมนตร์” ตั้งแต่เริ่มต้นอยู่แล้ว ยกตัวอย่างเช่น มีเนื้อหาตอนหนี่งในพระสูตรที่ว่า “故知般若羅蜜多 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 現慧法 biwahōshi 24 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 現慧法 (biwahōshi)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More