ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมธารว วิวาสรวีรการทางพระพุทธศาสนา
ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวบรวมที่ 13) ปี 2564
ไม่ได้มีความสำคัญมากนัก หากแต่มีการกล่าวไว้ในคัมภีร์ “สูตรตินบาต”5
มีใจความสังเขปว่า “พิฑออนความเห็นในอัตตาและจงพิจารณาเห็นโลก
โดยความว่างเปล่า” (ผู้แปล : สูตรตินบาต (ฉบับ PTS) คาถาที่ 1119)
นักศึกษา : ฟังดูเป็นเนื้อความเชิงปรัชญานะครับ คือ ให้เราเข้าใจ
ว่าหสิ่งที่เรียกว่าโลกนั้นเป็น “ศูนยตา” ไม่อยู่จริง ตกลงหมายความว่า
อาจารย์ : ในการที่จะเข้าใจถึง “ศูนยตา” ของ “พระพุทธ-
ศาสนาของพระคายมุ่ง” ก่อนอื่นต้องเข้าใจการมองโลกของพระ
คายมุฑเจ้าท่านเสียก่อน อาจจะยาวสักหน่อยนะครับ แต่เป็น
หลักแนวคิดที่สำคัญ ขอให้ตั้งใจให้ดีนะครับ
“พระพุทธศาสนาของพระคายมุ่ง” ได้วิธีแบ่งโลกในรูปแบบ
ต่างๆ หนึ่งในนั้น คือ มองโลกว่าเป็น “ขันธ 5”6 ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ว่า
“แท้ที่จริงแล้ว มนุษย์เราประกอบขึ้นมาจากสิ่งใดบ้าง” และได้คำตอบ
อดถามว่า เกิดจากส่วนประกอบทั้ง 5 มารวมกัน ส่วนประกอบทั้ง 5
ที่ว่านี้ได้แก่ “รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ” ถ้าจะอธิบายให้เข้าใจ
ง่ายๆ คือ “รูป” เป็นส่วนประกอบที่เป็นรูปลักษณะนอก หมายเอา
ร่างกายภายนอก ซึ่งแต่เดิมนั้นหมายรวมไปถึง สิ่งของต่างๆ เช่น ต้นไม้
หิน ไปด้วย แต่ในที่นี้เราจะหมายถึงเพียงร่างกายภายนอกก่อนในเบื้องต้น
5 สุตตานิเปตา (suttanipāta) เป็นคัมภีร์ถือว่าเก่าแก่ในคัมภีร์พระพุทธ-
ศาสนายุคต้น (อาคม / นิกาย) โดยมีความหมายว่่า “ชมพูม” (รวมสร้าง) ประกอบ
ด้วยส่วนที่เป็นคาถาสั้นๆ จำนวน 1149 คาถาและส่วนที่เป็นร้อยแก้ว
6 ผูแปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 五蘊 (goun)
7 ผูแปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า ๕ (shiki) 受(ju) 想(so) 行(gyo) 認(shiki)