ข้อความต้นฉบับในหน้า
พระพุทธศาสนามายาน: เหตุใดคำอธิบายของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (4)
Mahāyāna Buddhism: Reasons for Diversity in the Buddha's Teachings (4)
ใน “ปรัชญาปารมิตาภูตร” เรียกว่า “ศูนยตา” ผู้ที่ได้ศึกษาหลักการของ “ศูนยตา” และเข้าใจถึงแนวคิดนี้เท่านั้น จึงจะสามารถเปลี่ยนกุศลกรรมในชีวิตประจำวัน ให้นำไปสู่ผลคือการบรรลุธรรมเป็นพระพุทธเจ้าได้
นักศึกษา : นั่นหมายความว่า ใน “พระพุทธศาสนาของพระศากยูม” มองไม่เห็นถึงแนวคิดที่จะสามารถนำกุศลกรรมไปใช้ในแนวทางอื่นได้ เหมือนกับมีผู้อ่านเรื่องคู่มือการใช้งานของบัตรสะสมแต้มอย่างละเอียด แล้วนำมากิยให้ผู้อื่นฟัง ทำให้เข้าใจถึงระบบของบัตรสะสมแต่ดั่งกล่าวนี้ คือ “ศูนยตา” ใชไหมครับ ?
อาจารย์ : โดยสังเขปเป็นเช่นนั้นครับ แต่จริงๆ แล้วคำว่า “ศูนยตา” ก็มีการกล่าวไว้ในคำสอนของ “พระพุทธศาสนาของพระศากยูมิน” เช่นกัน หากแต่เป็นสิ่งที่มีความแตกต่างกับ “ศูนยตา” ใน “ปรัชญาปารมิตาภูตร” ซึ่งเป็น “ศูนยตา” ที่มีความสูงส่งและเป็นไปเพื่อบรรลุความเป็นพระพุทธเจ้า ซึ่งถือว่าเป็นแนวคิดที่ถูกปรับเปลี่ยนไปจาก “พระพุทธศาสนาของพระศากยูมิน” เรียบร้อยแล้ว ดังนั้น “ศูนยตา” ของ “ปรัชญาปารมิตาภูตร” และ “ศูนยตา” ของ “พระพุทธศาสนาของพระศากยูมิน” จึงเป็นคนละเรื่องกัน ส่วนความแตกต่างของทั้งสองนั้นเป็นอย่างไร ขอเริ่มต้นอธิบายที่ “ศูนยตา” ของ “พระพุทธศาสนาของพระศากยูมิน” ก่อน
แนวคิดเรื่อง “ศูนยตา” ในมัยของพระศากยูมินพุทธเจ้าหนึ่ง
____________________
4 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 空 (ku) บ้างว่า 空性 (kūshō)