ข้อความต้นฉบับในหน้า
พระพุทธศาสนามหายาน : เหตุใดคำกล่าวของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (4)
Mahāyāna Buddhism: Reasons for Diversity in the Buddha's Teachings (4)
213
จงสยาย...จงจารึก...จงเผายาออกไป
นักศึกษา : เป็นอย่างนี้เองผมเคยลองคิดดูว่า ทำอย่างไรพระพุทธ—
ศาสนาจึงจะเป็นคำสอนที่มหาชนทั้งหลายสามารถประพฤติปฏิบัติได้
...... ในที่สุดก็มแนวคิดในเรื่องของ “ศูนยต” ออกมา อาจารย์ครับ
เมื่อสักครู่นี้ที่ว่า ผู้ที่ได้ศึกษาหลักการของ “ศูนยต” และเข้าใจ
ถึงแนวคิดนี้เท่านั้น จึงจะสามารถเปลี่ยนบุคลากรในชีวิตประจำวัน
ให้เป็นผลของการบรรลุธรรมเป็นพระพุทธเจ้าได้ แล้วพวกเราควรทำ—
อย่างไร จึงจะเข้าใจแนวคิดของ “ศูนยต” ได้หรือครับ ?
อาจารย์ : “ปรัชญาปรมัติตสูตร” ได้กล่าวถึงแนวทางในการ
ประพฤติปฏิบัติที่สำคัญ 6 ประการ คือ “ทาน ศิล กษาณน์ (ขันติ) วิริยะ
(威ยะ) ยายนา (ลมาณ) ปริญญา (ปัญญา)”15 เรียกว่า “บารมี 6 ทัศ” ใน
จำนวนทั้ง 6 นี้ บารมีที่สำคัญที่สุด คือ “บรรยาบารมี”17 ซึ่งเป็นวิธีการ
ที่ทำให้มังคี “ปัญญาที่สมบูรณ์” กล่าวคือ “ปรัชญาบารมี” นี้เอง
ที่ทำให้เรามีปัญญาในการเข้าใจถึง “ศูนยต” นั่นเอง
ส่วนแนวทางปฏิบัติที่เหลืออีก 5 ประการ ได้แก่ “ทาน ศิล กษาณน์
วิริยะ ยายนา” ไม่ได้ถูกอธิบายไว้ให้ยกจบเกินไป กล่าวคือ การให้โดย
ไม่หวังสิ่งตอบแทน การรักษาศีลและมีเมตตาจิต มีความอดทนและมี
15 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 布施 (fuse) 持戒 (jikai) 忍辱 (ninniku) 精進
(shōjin) 禪定 (zenjō) 智慧 (chie)
16 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 六波羅蜜 (rokuharamitsu)
17 ผงเกาะ波羅蜜多 (hannyaharamitta) คำว่า 波若 (hannya) มาจากภาษา
สันสกฤตที่ว่า ปรัจฉา (prajñā) หมายถึง ปัญญา ส่วนคำว่า 波羅蜜 (haramitta)
หมายถึง ความสมบูรณ์ ความเต็มเปี่ยม