ความแตกต่างระหว่างงมงายและเห็นอธรรมชาติในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (4) หน้า 22
หน้าที่ 22 / 25

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เจาะลึกถึงความแตกต่างระหว่าง 'งมงาย' ซึ่งเป็นการมองหาความสัมพันธ์ที่ไม่ถูกต้องในเหตุและผล เช่น การเชื่อมโยงระหว่างการร้องไห้ของคนอื่นและการเสียชีวิตของผู้ป่วย และ 'เห็นอธรรมชาติ' ที่บ่งบอกถึงพลังงานที่ไร้ความสามารถในการอธิบาย เช่น กรณีผู้ป่วยที่มีชีวิตยาวนานเกินกว่าความหวังของแพทย์เพราะอานุภาพทางจิตใจ การสนทนาระหว่างนักศึกษาเกี่ยวกับพลาสิโบและอานุภาพเหนือธรรมชาติเสริมสร้างความเข้าใจในมุมมองต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและวิทยาศาสตร์ โดยไม่ละเลยถึงเรื่องจิตวิญญาณและประสบการณ์ส่วนบุคคล

หัวข้อประเด็น

- ความหมายของงมงาย
- อธรรมชาติในพระพุทธศาสนา
- พลาสิโบและอานุภาพในจิตวิญญาณ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมะยา วารสารวิชาการพระพุทธศาสนา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวบรวมที่ 13) ปี 2564 คนละอย่างกัน "งมงาย" คือ การทักทึงถึงความสัมพันธ์ไม่ถูกต้องในเหตุและผลของปรากฏการณ์ 2 อย่างที่เกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น เห็นอีกคนมาที่สวนแล้วร้องในวันที่คุณแม่เกิดเสียชีวิตลงไป ความคิดที่ว่า "สาเหตุที่คุณแม่เสียชีวิต นั้นเป็นเพราะอีกร้อง" ความเห็นเช่นนี้เราเรียกว่า "งมงาย" เพราะไม่มีความสัมพันธ์ในเรื่องเหตุและผลใด ๆ ระหว่างปรากฏการณ์ทั้ง 2 อย่าง เป็นเพียงการทักทึงเท่านั้น ส่วนคำว่า "เห็นอธรรมชาติ" คือ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในโลกนี้มีเรื่องที่สามารถสัมผัสได้ถึงพลังงานที่ไม่อาจอธิบายได้ด้วยปัญญามนุษย์ ตัวอย่างเช่น มีผู้ป่วยออกกากแทนท่านหนึ่งที่แพทย์วินิจฉัยว่ามีสามารถอยู่ได้เพียง 2 สัปดาห์เท่านั้น ได้สวดมนต์เป็นประจำทุกวัน แล้วมีชีวิตยาวไปอีกครึ่งปี ทำให้สามารถไปงานแต่งงานของลูกสาวได้ จากนั้นในวันนี้รุ่งขึ้นก็เสียชีวิต การที่พระสงฆ์จะมีภาพใน การรักษาหรือไม่นั้น คงไม่มีใครทราบ แต่สิ่งที่เกิดขึ้น คือ พระสูตรนั้นมีผลบางอย่างในด้านจิตใจ ซึ่งหากผู้ป่วยผู้นั้นได้ถือเอาความพิศษดังกล่าวเป็นสิ่งเหนือธรรมชาติ “อานุภาพเหนือธรรมชาติ” ย่อมมีแก่บุคคลนั้น นักศึกษา : แม้จะกล่าวเช่นนี้ ก็อยก่ทีมจะยอมรับได้ สิ่งนั้นไม่น่าเป็นอานุภาพเหนือธรรมชาติ น่าจะเป็นเพียง "ปรากฏการณ์พลาสิโบ"25 เท่านั้น เหมือนนำแป้งสาลีมาป็นเม็ด แล้วบอกว่า 25 プラシーボ効果(purashibo kōka) หรือ プラセボ効果(purasebo kōka) เป็นปรากฏการณ์ที่สิ่งที่ไม่มีผลในการรักษาโรค จ่ายให้กินแล้วได้ผล ความจริง เป็นการให้หลีกจิตวิทยา ส่งผลให้อตของคนได้ขึ้น (ผู้แปล : ภาษอังกฤษใช้คำว่า Placebo Effect) คำว่า "พลาสิโบ" แปลว่า "งมลอบโยน" ในภาษาอังกฤษ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More