ความหลากหลายของคำสอนในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (4) หน้า 13
หน้าที่ 13 / 25

สรุปเนื้อหา

บทสนทนาเกี่ยวกับคำสอนในพระพุทธศาสนาที่กล่าวถึงอาการอนิจจาของสรรพสิ่งซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง อยู่บนหลักการของความไร้ซึ่งสิ่งที่มีจริง สิ่งที่เกิดขึ้นทั้งหมดเป็นเพียงมายาภาพ ในขณะเดียวกันยังเสนอเรื่องของการมองโลกจากมุมของ 'ศูนย์ตา' ซึ่งจะช่วยเปิดเผยมุมมองใหม่ในการรับรู้และตีความเหตุการณ์ต่าง ๆ การใช้ปรัชญาต่าง ๆ มาช่วยอธิบายคำสอนและการเปลี่ยนแปลงในพระพุทธศาสนาให้เข้าใจได้มากขึ้นในสังคมปัจจุบัน.

หัวข้อประเด็น

-การเปลี่ยนแปลงในพระพุทธศาสนา
-ความหมายของอนิจจา
-มายาภาพในความคิด
-กฎแห่งกรรมในมุมมองใหม่
-ศูนย์ตาและการตีความ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระพุทธศาสนามายาฯเหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (4) Mahāyāna Buddhism: Reasons for Diversity in the Buddha's Teachings (4) 211 อนิจจา14 หรือ "สิ่งทั้งหลายมีความเปลี่ยนไปเป็นธรรมดา" ใน "ปฐมญา-ปรมัตถสูตร" ยังได้กล่าวว่า "ในเมื่อสิ่งที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐาน เป็นสิ่งที่ไม่มีอยู่จริง จึงไม่มีเหตุที่จะแผ่ให้การเกิดหรือการดับมีมูลหรือมีความบริสุทธิ์ มีการเพิ่มขึ้นหรือดลงแต่โดยดี ทั้งหมด ล้วนเป็นมายางทั้งสิ้น" กล่าวคือ แม้ในเรื่อง "สัพเพ สังขาร อนิจจา" ก็ยังถูกปฏิเสธ นักศษา: เป็นเรื่องที่เกินความคาดหมายจริง ๆ นะครับ องค์ประกอบต่าง ๆ ที่เราสัมผัสได้ ไม่ว่าจะเป็นสีสัน รูปร่าง เสียง หรือกลิ่นต่าง ๆ ล้วนเป็นสิ่งที่ไม่มีอยู่จริง ดังนั้น โลภิจึงเป็นเพียง "มายาภาพ" เท่านั้น ถ้าเป็นเช่นนั้นจริง ๆ แสดงว่า ไม่ว่าตัวอาจารย์หรือ ตัวผม ก็ไม่มีอดีต ไม่มีปัจจุบัน หรือแม้แต่อนาคต แล้วเราจะถืบมายิ่งถึง ความเป็นมาของเนื้อเรื่องต่าง ๆ ได้อย่างไรครับ ? อาจารย์: ครับ เป็นอย่างที่คุณว่าจริง ๆ ในเมื่อองค์ประกอบ พื้นฐานต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นโลกนี้ ล้วนเป็นสิ่งที่ไม่มีอยู่จริง เป็น เพียงสิ่งที่สมมติขึ้นเท่านั้น ก็จะทำให้หลากของเหตุและผลต่าง ๆ ที่ผูก องค์ประกอบต่าง ๆ เข้าด้วยกัน พลอยไม่มีอยู่จริงตามไปด้วย กล่าวคือ เรื่องของ "กฎแห่งกรรม" ก็ไม่ได้อยู่จริง แต่ถ้าปล่อยให้เป็นเช่นนี้ ความเป็นไปต่าง ๆ ของโลกก็พลอยทำให้ไม่สามารถอธิบายได้ "ปรัชญาปรัชญาสูตร" จึงได้อธิบายความว่า "ในโลกนี้มีฤฎอันยอดเยี่ยมที่ก้าวข้ามหลักการทั้งหลายเหล่านี้" ซึ่งกว่าร้อยยอดเยี่ยมดังกล่าวว่าที่เป็นอนุภาพเหนือลธรรมชาติก้าวล่วง ปัญหาของมนุษย์นี้ เรียกว่า "ศูนย์ตา" นั่นเอง 14 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 試行無常 (shoyōmujo)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More