ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมวาร วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา
ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่ม 13) ปี 2564
ใน “พระพุทธศาสนาของพระศากยมุนี” แม้เป็นเรื่องที่ยังไม่ค่อยชัดเจน
แต่ในทางกลับกัน ก็สามารถช่วยเหลือผู้คนได้มากขึ้นด้วยแนวคิดนี้
ถือว่าเป็นเรื่องที่ดี ใช่ไหมครับ ?
อาจารย์: เป็นเช่นนั้นครับ ใน “พระพุทธศาสนาของพระศากยมุนี”
ได้กล่าวถึงในเรื่องของ “กรม” บ้าง “สงสารวัฏ” บ้าง แต่จะเป็นสิ่งที่
ยากต่อการยอมรับของผู้คนในปัจจุบันก็ตาม แต่ก็แทบไม่มีเรื่องราวที่
เหนือธรรมชาติที่อย่างใด สำหรับผู้ที่ปฏิญาณจะจัดความทุกข์ที่อยู่
ในใจด้วยกำลังความสามารถของตนเองนั้น “พระพุทธศาสนาของพระศากยมุนี” ถือว่าเป็นคำสอนที่ค่อนข้างสมบูรณ์แบบที่เดียว แต่ในขณะเดียวกัน ก็มีสิ่งที่ยากต่อการปฏิบัติสำหรับทุกคน นั่นคือ การออกบวชและประพฤติปฏิบัติธรรม จึงเป็นเหตุให้ผู้คนคำสอนของ “พระพุทธศาสนาของพระศากยมุนี” เพียงอย่างเดียว ไม่สามารถช่วยเหลือได้เกิดขึ้น และเพื่อช่วยเหลือผู้คนทั้งหลายดังกล่าว “ปรัชญาอปิติสูตร” จึงถือกำเนิดขึ้น หากเราพิจารณาเช่นนี้ การปฏิเสธแนวคิดของ “พระพุทธศาสนาของพระศากยมุนี” ก็มีส่วนที่ทำให้สามารถมองเห็นแนวทางใหม่ในการช่วยเหลือผู้คนทั้งหลายดังกล่าว
(โปรดติดตามบทที่ 3 ในวารสารฉบับต่อไป)