ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมวรรณ วรรณวรวิชาการทางพระพุทธศาสนา
ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (ฉบับรายปีที่ 13) ปี 2564
ความเพียร รวมถึงทำใจให้สงบนี้ ซึ่งทั้งหมดที่มานี้ คือ “การดำเนินชีวิตให้อยู่ในเส้นทางที่ถูกต้องในชีวิตประจำวัน” นั่นเอง
นักศึกษา : ช่างดูเบาลงไปมากเลยนะครับ ต่อให้เป็นพนักงานบริษัทหรือนักธุรกิจ หากพวกเราได้ขัดเกลาปัญญาและใช้ชีวิตอย่าถูกต้องร่องรอยเสียแล้ว ย่อมสามารถบรรจบเป็นพระพุทธเจ้าพองค์หนึ่งได้โดยไม่ยากเลยใช่ไหมครับ ?
อาจารย์ : เพราะการช่วยเหลือผู้ที่ “พระพุทธศาสนาของพระภายมนี้” ไม่อาจช่วยเหลือได้ เป็นหน้าที่ของ “พระพุทธศาสนา มหายาน” ดังนั้น การลดเพดานบินลงจึงเป็นเรื่องธรรมดา นอกจากนี้ “มามี 6 ทัศ” ที่กล่าวไปแล้วนั้น ยังมีอีกประการหนึ่งที่สำคัญที่สุด คือ “การสรรเสริญบรรลุธรรมปฏิมาตสุด”
นักศึกษา : ไม่ได้กล่าวสรรเสริญพระภาคยมนิพพานเจ้าก แต่กล่าวสรรเสริญตัวพระสูตรหรือครับ ผมไม่ค่อยเข้าใจ เพราะตัวพระสูตรเองก็เป็นเพียงกระดาษที่เขียนอักษรลงไปเท่านั้นเอง แล้วให้สรรเสริญ “พระสูตร” ว่านี้ ผมไม่เข้าใจว่ามีประโยชน์อย่างไร ?
อาจารย์ : เหตุผลที่ “ไตรภูปวัฏมิตสูตร” กล่าวไว้ว่า “ให้สรรเสริญพระสูตร (ไตรภูปวัฏมิตสูตร)” นั่นเป็นเพราะ “พระสูตร” ว่าเป็นดังพระพุทธเจ้า และการที่ “ปรัชญาบรมุตตสูตร” ได้กล่าวถึง “คำสอน” ที่ไม่ได้ปรารภลักษณะของมนุษย์แต่ยังใด ว่าเป็นองค์พระพุทธเจ้าก็เป็นเพราะพระสูตรนี้ได้เลย “คำสอน” นี้ว่า “ธรรมภาย”18 กล่าวคือ