การรักษาศีลและความสามัคคี วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2550 หน้า 44
หน้าที่ 44 / 84

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการรักษาศีล 5 ที่ปู่ย่าตาทวดสอน โดยแนะนำให้ตั้งสัญญากับพระพุทธรูปก่อนออกจากบ้าน และให้นึกถึงความดีของผู้เกี่ยวข้องเพื่อสร้างวินัยและความสามัคคีในสังคม การดีดตัวเองออกจากการจับผิดและสร้างพลังใจเพื่อความสามัคคีก็เป็นสิ่งสำคัญ นอกจากนี้ยังแนะนำให้ภาวนาและนั่งสมาธิ เพื่อให้ใจเป็นกลางก่อนนอน.

หัวข้อประเด็น

-การรักษาศีล 5
-ความดีในตัวมนุษย์
-การสร้างความสามัคคี
-วินัยในชีวิตประจำวัน
-การภาวนาและนั่งสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ปู่ย่าตาทวดของเราจึงสอนว่า “วันใดยังไม่ได้ เมื่อใจเป็นกลางๆ แล้ว นอกจากจะไม่คิด ตั้งใจรักษาศีล วันนั้นอย่าเพิ่งออกจากบ้าน” เพราะ ฉะนั้น สัญญากับพระพุทธรูปบนหิ้งเสียก่อน ว่าวันนี้ เราจะรักษาศีล ๕ อย่างเคร่งครัด สัญญาแล้วจึงค่อย ออกจากบ้านไปทำงานกัน ถ้าทำอย่างนี้เป็นประจำ ความมีวินัยจะเกิด จับผิดใคร ยังคิดจับถูกจับดีแทนอีกด้วย เช่น คิดว่า คุณพ่อคุณแม่มีพระคุณกับเราอย่างไร ครูบาอาจารย์ มีพระคุณกับเราอย่างไร คิดไปจนกระทั่งว่า พระสงฆ์ องค์เจ้าและพระพุทธศาสนามีพระคุณกับเราอย่างไร ก่อนนอนขอให้นึกถึงความดีของมนุษย์ทั้งโลก ขึ้นในตัวของเราโดยอัตโนมัติ แล้วนิสัยชอบเอาแต่ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับเราทั้ง 5 ทิศ เมื่อนึกถึงความดี ใจตัวเองเป็นใหญ่ก็จะคลายไป นี่ก็เป็นที่มาแห่ง ๖ ของคนอื่นได้อย่างนี้ พลังใจที่จะสร้างความดีตาม ความสามัคคีของคนในชาติ ที่ปู่ย่าตาทวดของเรา คนเหล่านั้น หรือปรับปรุงตัวเองให้ดียิ่งขึ้นจะเกิดขึ้นมา สอนเอาไว้ประการที่ ๒ ถ้าทำได้ครบทั้ง ๓ ประการนี้ ความสามัคคี ประการที่ ๓ เนื่องจากมนุษย์จ้องจะจับผิดกัน จะเกิดขึ้นในทุกหย่อมหญ้า บนผืนแผ่นดินไทย ตั้งแต่เช้าจนกระทั่งเข้านอน ท่านก็เลยเตือนว่าถ้า ของเรา... อย่างนั้น “คืนใดยังไม่ได้สวดมนต์ภาวนา ยังไม่นึกถึง ความดีของคนรอบด้าน คืนนั้นอย่าเพิ่งเข้านอน เพราะฉะนั้น ก่อนนอนหลังจากสวดมนต์ไหว้พระเสร็จ ก็นั่งสมาธิเสียบ้าง ใจจะได้เป็นกลางๆ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More