ข้อความต้นฉบับในหน้า
ouh um
ที่ปรึกษา
พระมหาสมบุญ สมฺมาปุญฺโญ
พระมหา ดร.สมชาย ฐานวุฑโฒ
พระอารักษ์ ญาณารกโข
พระสมุห์อำนวยศักดิ์ มุนิสกฺโก
บรรณาธิการบริหาร
พระสมบัติ รกุขิตจิตโต
กองบรรณาธิการ
พระดร.สมศักดิ์ จนฺทสีโล, พระวิชิต ผาสุกวาโส,
พระตรีเทพ ชินจุกุโร, พระสนิทวงศ์ วุฑฺฒิวํโส,
พระกล้าณรงค์ ญาณวีโร, พระธีระ นาถธมฺโม,
พระมหาจตุรงค์ จตฺตมโล, พระสรพงษ์ สุทธสุทโธ,
พระมหาเอก จนฺทูปโม, พระสมบูรณ์ จิตฺตทนฺโต,
พระธนรินทร์ สิริธโร, พระวีรพงษ์ สงฺขวํโส,
พระคมกฤธิ์ คุตฺตวํโส, พระทรงวุฒิ ชยวุฑโฒ,
ผศ.สุชีพ พะหูชนม์, ผศ.สุภาศิริ พะหูชนม์,
วรวรรณ ถนอมพงษ์, วันชัย ภัทรโกมล,
วินิช พันธุ์วิริยรัตน์, อุษา จันตะกา,
กนกพร เทศนา, สุธิดา จินดากิจนุกูล,
รัดเกล้า ลิ่วเฉลิมวงศ์, น้ำผึ้ง พุ่มมาลี,
ระพีพรรณ ใจภักดี, พรพรหม ทิพยมนตรี
บริบูรณ์ โนรีเวช, วริศรา เพชรวิภูษิต
บรรณาธิการสารสนเทศ
เปรมจิต จงเจียมใจ, รุ่งนภา วรรณุปถัมภ์
ฝ่ายภาพ
ศูนย์ภาพนิ่ง
ฝ่ายศิลปกรรม
ลือพงศ์ ลีลพนัง, กองพุทธศิลป์
วัลลภ นิลถนอม, ชัยชนะ กิตติโสภาพันธุ์
ภัทรา ศรีวสุธา, ปัณณภัสร์ ใต้ธงชัย,
ศุภวิชฐ์ เหล่าเลิศพงษ์, ชนกมณฐ์ รักษาเกียรติ
พีระ แสงงาม, ชูเดช อนุรักษ์
ฝ่ายโฆษณา
ปราณี ชัยผดุง ๐-๖๗๗๑-๒๒๖๘
ฝ่ายสมาชิก
อรุณี พลกลาง ๐-๑๓๐๖-๕๓๙๓
ผ่องศรี ทานาแซง ๐-๖๙๘๐-๐๙๗๒
โรงพิมพ์
บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จำกัด
วารสาร “อยู่ในบุญ”
เป็นวารสารเพื่อการเผยแผ่ธรรมะ
ในพระพุทธศาสนาเป็นรายเดือน
มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
๑.เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน
ธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
และเกิดกำลังใจในการปฏิบัติธรรม เพื่อเข้า
ถึงธรรมะภายใน
๒.เพื่อปลูกฝังคุณธรรมแก่ประชาชนทุก
เพศ ทุกวัย ทุกอาชีพและทุกระดับการศึกษา
ต.เพื่อถ่ายทอดความรู้ในพระพุทธ
ศาสนา ให้ง่ายแก่การนำไปใช้ให้เป็น
ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน
๔.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คนใน
สังคมเป็นคนดีที่โลกต้องการ
๕.เพื่อเป็นสื่อกลางในการสืบทอดอายุ
พระพุทธศาสนาให้เป็นที่พึ่งแก่ชาวโลกสืบไป
หากไม่ว่างจริงๆ..
จะทําสมาธิตอนไหน
ด้วยภารกิจหน้าที่การงานที่มา
งานทีมากมาย จนหลายคนอาจจะบอกว่า
ไม่มีเวลาว่างเลย พอกลับถึงบ้าน ก็หลับไหลเพราะความเหนื่อยล้า
จนไม่มีเวลานั่งสมาธิ แต่ในความเป็นจริง นอกจากการทำสมาธิด้วย
การหลับตาแล้ว เรายังสามารถทำสมาธิขณะลืมตาได้อีก เพราะ
แท้จริงแล้ว...มนุษย์เรามีความสามารถทำอะไรหลายๆ อย่างพร้อมๆ กัน
ให้เอื้อสัมพันธ์กันจนเกิดประโยชน์สูงสุด เหมือนกับการจับพวงมาลัย
ไป ขับรถไป ดูทางไป
เฉกเช่นกัน แม้เราจะต้องทำงาน ทำหน้าที่ ในอิริยาบถใดก็ตาม
เราก็สามารถทำสมาธิไปด้วยได้ คือเคลื่อนไหวแต่เพียงข้างนอก
ส่วนข้างในหยุดนิ่ง คล้ายๆ กับ ถนนหยุด รถวิ่ง ท้องฟ้านิ่ง เมฆ
เคลื่อนไหว หรือเหมือนกับการหลับตานึกถึงดวงตะวัน แม้เวลาลืมตา
เราก็นึกถึงดวงตะวันได้...
ใครที่ยังไม่เคยลองทำ อาจจะคิดว่ามันยาก จริงๆ ไม่ยากเลย
ลองตั้งมโนปณิธานว่าจะทำสัก ๑ สัปดาห์ ทำแบบนี้ให้ได้สัก ๑ สัปดาห์
ผลการปฏิบัติธรรมเราจะก้าวหน้าและดีขึ้นอย่างแตกต่าง เราจะพบ
เราคนใหม่แม้จะยังคงอยู่ในร่างเดิม ยังทำงานเดิม ๆ อยู่ในบ้านหลัง
บ้านเดิม
ดังนั้น การทำสมาธิเป็นสิ่งไม่ยากเลย เราสามารถทำได้ทั้งขณะ
หลับตา และลืมตา หากเราสามารถทำสมาธิได้ตลอดเวลาเช่นนี้ ทำ
จนกระทั่งติดเป็นนิสัย ไม่ว่าจะคิด พูด ทำอะไร ก็สามารถเริ่มต้นที่
ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ ทำอย่างนี้เป็นอัตโนมัติ ชีวิตเราจะมีความสุข
มีความบริสุทธิ์ มีสติ มีปัญญา และสามารถใช้ประโยชน์จากสมาธิ
ได้อย่างบริบูรณ์..