ดับไฟเสียแต่ต้นลม แด่นักสร้างบารมี 3 หน้า 38
หน้าที่ 38 / 124

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เล่าถึงความสำคัญของการรีบแก้ไขข้อผิดพลาดในทันทีเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายมากขึ้น โดยใช้สำนวน 'ดับไฟเสียแต่ต้นลม' ซึ่งเปรียบเปรยความสัมพันธ์ระหว่างไฟและลม เพื่อสื่อให้เห็นถึงความสำคัญของการจัดการปัญหาตั้งแต่เริ่มต้น สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันและการทำงานได้.

หัวข้อประเด็น

-การแก้ไขข้อผิดพลาด
-ความสำคัญของการรีบดำเนินการ
-การป้องกันความเสียหาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

៧ ตัดไฟเสียแต่ต้นลม อังคารที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๓๓ โบราณสอนเอาไว้ว่า เมื่อมีความผิดพลาดอะไร เกิดขึ้น ต้องรีบแก้ไขเสียตั้งแต่ต้นมือ ท่านใช้คำว่า “ดับ ไฟเสียตั้งแต่ต้นลม” คือเมื่อมีไฟลุกติดขึ้นมานิดหนึ่งให้ รีบดับเสีย เพราะไฟกับลมนี้มีความสัมพันธ์กันในลักษณะ แปลก ๆ อยู่อย่างหนึ่ง ใครจะไปทดลองดูก็ได้ แต่อย่า ไปลองใกล้กุฏิหลังคาจากก็แล้วกัน เวลาลมสงบนิ่ง ๆ ไม่พัดเลยนี่แหละ หากจุดไฟ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More