ข้อความต้นฉบับในหน้า
P
&
20
บุญที่ถูกจำกัดด้วยคราว คือ ใน ๑ ปี แต่ละวัดจะ
สามารถรับกฐินและกรานกฐินได้ครั้งเดียวเท่านั้น
5. ประการที่ ๔ หากเราคิดจะทำบุญ
ทอดกฐิน ไม่ใช่แค่เดินทางไปวัดไหนแล้วก็จะทำได้
ง่าย ๆ เพราะวัดที่จะทอดกฐินได้นั้นต้องมีพระภิกษุ
ที่อยู่จำพรรษาครบตลอดทั้งพรรษาอย่างน้อย ๕
รูป ถ้ามีพระจำพรรษาแค่ ๑-๔ รูป หรือจำพรรษา
ไม่ครบ หรือไม่มีพระจำพรรษาที่วัดนั้นเราก็จะ
ทำบุญทอดกฐินไม่ได้ หรือหากจะทำ บุญนั้นก็ไม่
จัดว่าเป็นบุญทอดกฐิน
๓. ประการที่ ๕ ในวันทอดกฐิน พระภิกษุ
ที่กรานกฐินต้องตัด เย็บ ย้อม (หรือรับผ้าจีวร
สำเร็จรูปที่ทายกทายิกาตัด เย็บ ย้อมเสร็จเรียบร้อย
แล้วก็ได้) เมื่อได้ผ้าจีวรมาแล้ว ก็จะต้องกรานกฐิน
ให้แล้วเสร็จภายในวันนั้น จะเลื่อนไปเป็นวันรุ่งขึ้น
หรือวันอื่น ๆ ไม่ได้ เมื่อพระผู้รับกฐินทำการ
กรานกฐินเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงจะถือว่าเสร็จพิธี
กรานกฐินอย่างสมบูรณ์
ประการที่ 5 การทำบุญทอดกฐินเป็นบุญ
ที่ถูกจำกัดด้วยไทยธรรม คือของที่ถวายต้องเป็น
ผ้าผืนใดผืนหนึ่งในไตรจีวรเท่านั้น ไทยธรรมอื่น
จัดเป็นบริวารกฐินทั้งหมด
๘.
ประการสุดท้าย การทำบุญทอดกฐิน
และการถวายผ้ากฐินถือว่าเป็นบุญแบบสุด ๆ
เพราะเป็นสิ่งที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงดำริขึ้น
ด้วยพระองค์เอง คือทรงมีพระบรมพุทธานุญาต
ให้ถวายแด่ภิกษุที่จำพรรษาครบ เดือน ซึ่งผิด
กับการทำทานอย่างอื่น ที่ต้องมีทายกทายิกา
6
40
ทูลขออนุญาตจากพระองค์ก่อน เช่น การถวาย
ผ้าอาบน้ำฝน ที่เกิดจากการที่มหาอุบาสิกาวิสาขา
Go
D
ทูลขออนุญาตจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงได้เกิด
การทำบุญถวายผ้าอาบน้ำฝนขึ้น
จากที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ จะเห็นได้ว่า
การทอดกฐินเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ยากแบบสุด ๆ
ดังนั้น การที่นักเรียนอนุบาลฝันในฝันจะตัดสินใจ