ข้อความต้นฉบับในหน้า
ที่ปรึกษา
พระครูวิเทศปัญญาภรณ์ (สมบุญ สมมาปุญโญ)
พระมหา ดร.สมชาย ฐานวุฑโฒ
พระวิษณุ ปญฺญาทีโป
พระอารักษ์ ญาณารกุโข
พระสมุห์อำนวยศักดิ์ มุนิสาโก
บรรณาธิการบริหาร
พระสมบัติ รกฺขิตจิตโต
กองบรรณาธิการ
พระดร.สมศักดิ์ จนฺทสีโล, พระตรีเทพ ชินจุกุโร,
พระสนิทวงศ์ วุฑฒิวํโส, พระมหาธีระ นาถธมฺโม,
พระมหาจตุรงค์ จตฺตมโล, พระมหาเอก จนฺทูปโม
พระธนรินทร์ สิริธโร, พระวรัช คุณงฺกโร
พระสิปปภาส พฺรหฺมสโร, พระบริบูรณ์ ธมฺมวิชโช
ผศ.สุภาศิริ พะหูชนม์, วรวรรณ ถนอมพงษ์,
วันชัย ภัทรโกมล, วินิช พันธุ์วิริยรัตน์,
สุธิดา จินดากิจนุกูล, รัดเกล้า ลิ่วเฉลิมวงศ์,
น้ำผึ้ง พุ่มมาลี, ระพีพรรณ ใจภักดี, เมธินี จอกทอง,
อรพรรณ วีระกูล, รัตนพล ธนเสฐภักดี,
กำพล แก้วประเสริฐกุล, บุษบา ธาราสมบัติ
กนกพร เทศนา, พรชนก คู่รัตนา, จันทร์จิรา มีเดช,
รัตนา อรัมสัจจากูล, ประวีร์ ธรรมรักษ์,
ผ่องศรี ทานาแชง, เทวี สุขศิริ
บรรณาธิการสารสนเทศ
วรรณภา พลกลาง
ฝ่ายภาพ
ศูนย์ภาพนิ่งและบรรณาธิการภาพ
ฝ่ายศิลปกรรม
อพงศ์ ลีลพนัง, กองพุทธศิลป์
วัลลภ นิลถนอม, ชัยชนะ กิตติโสภาพันธุ์
ภัทรา ศรีวสุธา, ศุภวิชฐ์ เหล่าเลิศพงษ์,
สุพัตรา ปัญญาแสง, พีระ แสงงาม,
สิริพันธุ์ สมาหารพันธุ์, สุภชา ศรีโสภิต
ฝ่ายโฆษณา
ปราณี ชัยผดุง ๐๘-๖๗๗๑-๒๒๖๘
ตฤณพรรษ ตํานานวัน, สุพัตรา แก่นจันทร์
ฝ่ายสมาชิก
อรุณี พลกลาง ๐๘-๑๓๐๖-๕๓๙๓
โรงพิมพ์
บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จำกัด
จัดทําโดย
มูลนิธิธรรมกาย
วารสาร “อยู่ในบุญ”
เป็นวารสารเพื่อการเผยแผ่ธรรมะ
ในพระพุทธศาสนาเป็นรายเดือน
มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
๑.เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน
ธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
และเกิดกำลังใจในการปฏิบัติธรรม เพื่อเข้า
ถึงธรรมะภายใน
๒.เพื่อปลูกฝังคุณธรรมแก่ประชาชนทุก
เพศ ทุกวัย ทุกอาชีพและทุกระดับการศึกษา
๓.เพื่อถ่ายทอดความรู้ในพระพุทธ
ศาสนา ให้ง่ายแก่การนำาไปใช้ให้เป็น
ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน
๔.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คนใน
สังคมเป็นคนดีที่โลกต้องการ
๕.เพื่อเป็นสื่อกลางในการสืบทอดอายุ
พระพุทธศาสนาให้เป็นที่พึ่งแก่ชาวโลกสืบไป
ทำไม..การทอดกฐิน
ถึงเป็นสุดยอดของมหากาลทาน ?
บุญจากการทอดกฐิน ถือเป็นสุดยอดมหากาลทาน เพราะ
เป็นบุญที่ทำได้ยากและมีข้อจำกัดหลายอย่าง คือ
๑๑
๑
๑. เป็นกาลทาน คือ ทำได้แค่ปีละ ๑ ครั้งเท่านั้น อีกทั้ง
ต้องทำในช่วงระยะเวลาที่กำหนดไว้ คือ ภายใน เดือน นับจาก
วันออกพรรษา (ตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ถึงกลางเดือน ๑๒
รวมเวลา ๒๙ วันเท่านั้น) คือ ถ้าเลยช่วงเวลาดังกล่าวไปแม้แต่
เพียงวันเดียว บุญที่จะทำนั้น ก็ไม่จัดว่าเป็นบุญทอดกฐินของปีนั้น
๒. เป็นบุญที่ถูกจำกัดด้วยประเภทของทาน คือ ต้อง
ถวายเป็นสังฆทานเท่านั้น จะถวายแบบเฉพาะเจาะจงภิกษุรูปใด
รูปหนึ่งเหมือนทานอื่น ๆ ไม่ได้
๓.
เป็นบุญที่ถูกจำกัดด้วยคราว คือ ใน ๑ ปี แต่ละวัดจะ
รับกฐินและกรานกฐินได้ปีละครั้งเดียวเท่านั้น
วัดที่จะรับกฐินได้นั้น ต้องมีพระภิกษุที่อยู่จำพรรษา
ครบอย่างน้อย ๕ รูป
๕. ในวันทอดกฐิน พระภิกษุที่กรานกฐินจะต้องตัด เย็บ ย้อม
(หรือรับผ้าจีวรสำเร็จรูปที่ทายกทายิกา ตัด เย็บ ย้อมเสร็จเรียบร้อย
แล้วนำมาถวายก็ได้) เมื่อได้ผ้าจีวรมาแล้ว ก็ต้องกรานกฐินให้
แล้วเสร็จภายในวันนั้น
5. เป็นบุญที่ถูกจำกัดด้วยไทยธรรม คือ ของที่ถวายต้อง
เป็นผ้าผืนใดผืนหนึ่งในจำนวนไตรจีวรเท่านั้น นอกนั้นจัดเป็น
บริวารกฐินทั้งหมด
๗.
การทำบุญทอดกฐินและการถวายผ้ากฐินเป็นบุญที่
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงดำริขึ้นด้วยพระองค์เอง คือ ทรงมี
พระบรมพุทธานุญาตให้ถวายแด่ภิกษุที่จำพรรษาครบ ๓ เดือน
ซึ่งผิดกับการทำทานอย่างอื่น ที่ต้องมีทายก ทายิกา ทูลขอ
อนุญาตจากพระองค์ก่อน เช่น การถวายผ้าอาบน้ำฝน เกิดจาก
การที่มหาอุบาสิกาวิสาขาทูลขออนุญาตจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
จึงได้เกิดการทำบุญถวายผ้าอาบน้ำฝนขึ้น.....