ศิลปะการบรรจุพระไตรปิฏกและลวดลายไทย วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2557 หน้า 52
หน้าที่ 52 / 135

สรุปเนื้อหา

การบรรจุพระไตรปิฏกมีลักษณะเป็นกล่องลูกบาศก์ โดยมีการตกแต่งด้วยลวดลายดอกไม้และองค์ประกอบที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เช่น เทวดาทวารบาล การประดับด้วยรักปิดทอง และลวดลายที่ถือเป็นตัวแทนของประวัติศาสตร์ไทย คาแรคเตอร์เหล่านี้ไม่เพียงแต่สะท้อนถึงศิลปะที่มีความงดงาม ยังบ่งบอกถึงความประณีตที่ส่งต่อจากช่างศิลปะในแต่ละยุคสมัย โดยเฉพาะในช่วงพุทธศตวรรษที่ 23 ซึ่งเป็นยุคที่มีการสร้างสรรค์ผลงานชั้นเยี่ยมและมีความหลากหลายในการออกแบบ เป็นการสื่อสารความภาคภูมิใจในอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติและความเจริญรุ่งเรืองในอดีต.

หัวข้อประเด็น

-ศิลปะไทย
-พระพุทธศาสนา
-ความสำคัญของพระไตรปิฏก
-ลวดลายด่าน้ำ
-ประวัติศาสตร์ศิลปะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ที่ทำขึ้นนี้สำหรับบรรจุพระไตรปิฏกจริง ๆ มีลักษณะเป็นรูปแบบเลี่ยมลูกบาศก์ ส่วนบนสอเขาทำให้ดูกดเขมกว่าตอนล่าง ตกแต่งด้วยลายรดน้ำหรือลงรักปิดทอง ภาพลายดำนั้นทั่วไปเป็นเรื่องเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ภาพเทวดาทวารบาล ภาพธรรมชาติ เป็นต้น แม้ว่าความนิยมของลวดลายจะแตกต่างไปตามยุคสมัย แต่ผลงานที่ช่างศิลปะสร้างขึ้นส่วนสะท้อนให้เห็นความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะฝากผลงานชั้นดีของตนไว้เคียงคู่และปกปักษ์ค้ำคองพระบรมครู อีกทั้งยังสะท้อนให้เห็นเรื่องราวประวัติศาสตร์ของบ้านเมืองในแต่ละยุคสมัยอีกด้วย เช่นความงดงามประณีตและความมีชีวิตชีวาอย่างหาที่ไม่ได้ของงานศิลปะลายด่าน้ำมั ยู่ยงยาวนาน กระหนกปลวกที่พังและเป็นกลุ่มก้อนแสดงให้ประจักษ์ถึงความภาคภูมิใจเป็นหนึ่งอันเดียวกันของคนในชาติ ความสุขสมของราษฎร โดยเฉพาะลวดลายด่าน้าช่วง อยู่ยามตอนปลายที่มีความลับซับซ้อนอ่อนช้อย สะท้อนถึงความจริงรุ่งเรืองและสังคมที่รุ่งเรืองในช่วงปลายอาณาจักร พระธรรม ศิลปะอยู่ยงเด่นพุทธศตวรรษที่ 23 ไม้ลงรักปิดทองประดับกระจก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More