ศิลปะไทยและความเชื่อในพระไตรปิฎก วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนมีนาคม พ.ศ.2559 หน้า 66
หน้าที่ 66 / 128

สรุปเนื้อหา

แสงสายอ่อนซ้อนในพระไตรปิฎกคือผลงานศิลปะไทยที่แสดงถึงประเพณีและวัฒนธรรมที่สืบทอดมายาวนาน ตั้งแต่สมัยอาณาจักรโบราณ ภายใต้ความเชื่อในพระพุทธศาสนาและวิถีชีวิตของสังคมเกษตรกรรม ทำให้เกิดความงามทางสุนทรียะและภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรมของไทยจนถึงปัจจุบัน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อและการสร้างสรรค์ ทำให้ศิลปะนี้กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งความเป็นไทย.

หัวข้อประเด็น

-ศิลปะไทย
-พระไตรปิฎก
-วัฒนธรรมและประเพณี
-ความเชื่อและศรัทธา
-วิถีชีวิตสังคมเกษตรกรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

แสงสายอ่อนซ้อนที่ปรากฏบนคุณฝ่าพระไตรปิฎกเป็นงานศิลปะไทยของช่างศิลป์ โบราณ อันเกิดจากขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และความเชื่อที่น่ามแหน สืบทอดต่อกันมาอย่างยาวนานนับตั้งแต่สมัยที่ดินแดนแผ่นทองแห่งนี้ยังเป็นที่ตั้งของ อาณาจักรโบราณต่าง ๆ ผสานสอดแทรกกับวิถีชีวิตแห่งไทยผู้ผนึกกลั้วกับธรรมชาติ ด้วยเป็นสังคมเกษตรกรรม และความเชื่อมั่นศรัทธาในพระพุทธศาสนาซึ่งเป็นเครื่อง ยึดเหนี่ยวจิตใจมาอย่างนานจนก่อนเกิดเป็นงานศิลปะที่มีรูปแบบเฉพาะ กลายเป็นความงาม อย่างลงตัวทางสุนทรียภาพบนพื้นฐานวิถีแห่งไทย วิถีแห่งธรรม ที่ยึดมั่นภาคภูมิใจ ของคนในชาติมาจนถึงปัจจุบัน (Page 24, in Thai)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More