ข้อความต้นฉบับในหน้า
วัดวิทัศน์
ต้นบัญญัติธรรมยาทไทย
ตอนที่ ๗ ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เมื่อรับบิณฑบาต
เราจักดูแลดุจในบาตร
หมวดที่ ๒ โภชนปฏิสังยูด (ข้อ ๒)
ข้อดี ท่านห้ามไม่ให้ดูหน้าบุญญาโยม
ที่มาถึงบาตร แม้แต่เล็กไปทางอื่นก็ไม่ควร
เวลาออกบิณฑบาตต้องสำรวมอยู่ตลอดเวลา
เพราะตามพระวินัย การบิณฑบาตของพระภิกษุ
เป็นการขอ แต่เป็นการขอที่แตดจาก
การของของขานโดยสิ้นเชิง พวกเราจึงควร
ทำความเข้าใจดีดี เดียจะพลาด
การของของทานเป็นการของชนิดที่
อ้างเอาความน่าเชื่อหมุนตัวเองมาเพื่อ
ให้เขาสงสาร แล้วก็ให้ทานมา เช่น รำพึงว่า
"ช่วยผมทีเกิด พ่อก็ทิ้ง แม่ก็ทิ้ง เจ็ดชั่วโคตร
ตายหมด เหลือแต่บุตรเดี่ยว นี่ก็ลังกตาย
เป็นคนสุดท้ายอยู่แล้ว ช่วยทีเถิด..."
หรือไม่อย่างนั้นก็กลากส่งร้อนนานเทวามา
มาให้เขาเห็น ตกบ่ด หูกนวล ขากบ
มิถีแป คำครูบาคุณดูอยู่ข้างทาง เขาสาร
ก็ให้เงินให้ทองมา นี่เป็นลักษณะของของทาน
ทั่ว ๆ ไป แต่พระภิกษุไม่ใช่อย่างนั้น พระภิกษุขอ
ด้วยอาการสงสารรวม ให้ก็ได้ ไม่ให้ก็แล้วไป
ไม่เน็น ไม่ว่า ไม่ด่า ไม่ว่า ถือเป็นการขอแบบ
พระอริยะ คือ ผู้เจริญแล้ว มีบางคนไม่เข้าใจ
เอาไปเปรียบเทียบกันแล้วจรณว่า พระภิกษุ
นี้แย่งจริง ๆ สุขอาทานก็ไม่ได้ ครั้นซักใช้เลี่ยง
ว่่าสู้ไม่ได้อย่างไร เขาก็อธิบายว่า
"ขอทานน่ะ เวลาผมให้มันไว้ผมทุกที
แต่เวลามาตรบาตรให้หลวงพ่อหลวงพี่ นอกจาก
หลวงพ่อหลวงพี่จะไม่ให้ขอบคุณผมแล้ว
ผมยังต้องไหว้หลวงพ่อหลวงพี่ อีกเปรียบกัน
จังเลย"
เอาล่ะ เกิดมีคนอุตริคิดอย่างนี้ขึ้นมา
แม้จะไม่มีหวั่นมานี้ป่านิดเดียวของญี่ปุ่น
ก็เจอเข้าเล่มหนึ่ง เขาวิจารณ์ในทำนองนี้
เหมือนกัน เขาเขียนว่า มีกาวญี่ปุ่นมาเที่ยว
เมืองไทยแล้วกลับไปกล่าวว่า ธรรมเนียมของ
ชาวไทยนี้แปลก เวลาเอาข้าวให้พระเทนที่
จะว่าไง แล้วก่าล่ำคำขอบคุณ คนให้ลับต้อง
ให้อีก เล่าเรื่องนี้ทีไหน คนฟังก็เรากัน