ลวดลายมัยอุษยา: ความงามและความหมาย วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนมีนาคม พ.ศ.2559 หน้า 68
หน้าที่ 68 / 128

สรุปเนื้อหา

ลวดลายมัยอุษยามีความหลากหลายซึ่งแสดงถึงฝีมือและอารมณ์ของผู้คนในสังคมไทย โดยสามารถสังเกตได้จากความงามที่บ่งบอกถึงจิตใจอ่อนโยน แม้ในยุคสงครามที่ไร้ซึ่งสงบสุข ลวดลายศิลปะกลับประสบปัญหา ทำให้ดูแข็งกระด้างและขาดความพลิ้วไหวเมื่อเทียบกับยุคอยุธยา ในยุครัตนโกสินทร์ช่างเริ่มยึดติดกับต้นแบบ ส่งผลให้ลวดลายไม่หลากหลายและดูเหมือนว่าจะไร้อิสระ แต่ยังคงไว้ซึ่งความงามที่น่าชื่นชมโดยรวม.

หัวข้อประเด็น

-ความงามของลวดลาย
-ศิลปะไทยในประวัติศาสตร์
-ผลกระทบทางสังคมต่อศิลปะ
-การเปลี่ยนแปลงในศิลปะไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ลวดลายมัยอุษยามีความอ่อนช้อย ปลายพลังแสดงถึงความมีระของช่างไทยที่แสดงฝีมือได้อย่างเต็มที่โดยมุ่งจำกัดด้วยรูปแบบต้นร่าง ลวดลายและองค์ประกอบบันดุพระไตรปิฎกซึ่งที่เป็นรูปแบบเดียวกันและแตกต่างกัน แต่สดใสลงตัวอย่างพอเหมาะงดงาม ถ้าเป็นมัยอุษยาธาตุนครครูช่างจะมีช่องไฟเว้นไว้พองาม ส่วนมัยอุษยาธาตุนปลายนัน ศิลปินนิยมเมียนลายเต็มพื้นที่ ความงามงดงามดังกล่าวบอกเล่าสะท้อนถึงสังคมที่อยู่มีสุข และจิตใจอ่อนโยนของผู้คนในมัยอุษยาธิบเป็นอย่างดี แต่เมื่อบ้านเมืองเข้าสภาวะที่เสดสงครามยืดยาวนานช่างปลายจุดรู้แกร่ง ดุจปลายงดงามและความพลัดพรากสูญเสียได้นั่นเทอความสนุกในจิตใจของผู้คน ลวดลายศิลปในมัยอุษยาจึงขาดอิสระในปลายเส้น และความพิถีพิถันในการเขียนลายก็็น้อยกว่าสมัยอยุธยา ส่วนในมัยอุษยาธิบดีรณโกสินทร์ช่างมักยึดติดกับต้นแบบที่ร่างไว้ ทำให้ลวดลายมักเป็นลายเดียวกันตลอดทั้งดุ้น ปลายเส้นก็ดูแก่งกระด้าง ขาดอิสระ ไม่อ่อนช้อยพลิ้วไหวเหมือนยุคที่ผ่านมา ถึงกระนั้นก็ยังคงความงามงามวิจิตรบรรจงได้อย่างน่าชื่นชม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More