การบอกกล่าวและเล่าทุกข์ วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนมีนาคม พ.ศ.2559 หน้า 74
หน้าที่ 74 / 128

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการบอกกล่าวทุกข์อย่างเหมาะสม โดยแนะนำให้ตอบคำถามเกี่ยวกับทุกข์พอประมาณ ไม่ให้มากหรือน้อยจนเกินไป เพื่อไม่ให้คนรอบข้างรู้สึกไม่สบายใจและหลีกหนี รวมถึงแบ่งปันกับเพื่อนที่จริงใจ เพื่อหาทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน และควรคิดในทางที่ดีเพื่อให้ความทุกข์ลดน้อยลง บางครั้งปัญหาอาจหายไปเองหากมีการจัดการที่ดีและใช้เวลาพอสมควรในการฟื้นฟูจิตใจ โดยไม่ต้องบอกทุกคนทุกเวลา สามารถพิจารณาปัจจัยเหล่านี้เพื่อสร้างความสุขในชีวิตได้บ้าง.

หัวข้อประเด็น

-การบอกกล่าวเรื่องทุกข์
-ความสัมพันธ์กับผู้อื่น
-การจัดการความทุกข์
-การเล่าความทุกข์ในชีวิตประจำวัน
-การใช้ชีวิตที่ดีขึ้น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

บอกกล่าวเล่ทุกข์ โดย อุตโตน ทุกข์มนานาปรุโฆ่ ปวตา ชนะู อากาสูปา อานนทิโน ตสส วนาติ มิฏิตา หิตสโตน ตสส ทุกข์ี วาณุติ ผู้ใดพอใครถามถึงเรื่องทุกข์ของตน ก็อมเฆเร่อไป ทั้งที่ไม่ใช่กาลอันควร ผู้นั้นจะมีแต่บิดชะนิดเจ้าสำราญ ส่วนผู้หวังดีต่อเขาก็มิแต่กุ้ง (๒๙/๑๗/๒) เป็นเรื่องธรรมดาที่คนคุ้มเคยจะถามใส่ถามทุกข์กัน เราจะตอบอย่างไร บอกเล่าทุกข์แต่ไหนถามเรื่องสุข ก็ต้องตอบพอประมาณ ไม่มีใส่ใจสุดอ้อม แม้เป็นเรื่องจริงก็อย่าตอบให้เขาหันใส่ จิตจา หรือไม่อยากฟัง ถามเรื่องทุกข์ ก็ต้องตอบพอประมาณ ไม่จำเป็นต้องปิดบัง แต่ก็ไม่จำเป็นต้องบอก พูดในกลาลไม่ควร เล่าเรื่องทุกข์มาไป ไป ๆ ก็หลีกหนี เพื่อน ๆ ไม่อยากอยู่ใกล้ ไม่อยากถามเรื่องทุกข์อีก ก็จะเจอแต่เพื่อนเสพสุข หาเพื่อนแท้ได้ง่าย ส่วนเพื่อนรักเมื่อฟังเรื่องทุกข์ ก็พลอยทุกข์ไปด้วย คอยรับฟัง ช่วยคิด ช่วยหาทางแก้ ชนทุกข์ไปเต็ม ๆ เราจึงควรบอกทุกข์พอประมาณ อย่าพร่ำแต่ปัญหา ไม่ต้องเล่ากับทุกคน ไม่ต้องบอกทุกเวลา คิดในทางที่ดีบ้าง ทำใจให้นิ่งสงบบ้าง ความทุกข์จะลดลง และบางทีปัญหามันก็ทยอยไปเอง ๆ เอง ไม่เชื่อก็ลองดูก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More