ศิลปะไทย: ดูฉลายธนูและลายกามะลอ วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนมีนาคม พ.ศ.2559 หน้า 69
หน้าที่ 69 / 128

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจศิลปะดูลายธนูน้ำและลายกามะลอที่มีชื่อเสียงในไทย โดยอธิบายถึงฝีมือช่างวัดเชิงหวายในสมัยอยุธยาและการพัฒนาของลายกามะลอในรัตนโกสินทร์ การผสมผสานวรรณคดีไทยเข้ากับศิลปะทำให้ลายกามะลอมีความเป็นเอกลักษณ์อย่างมากในช่วงนี้ ทั้งนี้ดูฉลายธนูมีการประดับลวดลายที่สวยงามและประกอบไปด้วยภาพสัตว์ที่มีชีวิตชีวา และการนำเรื่องราวจากวรรณคดีไทยมาใช้ในงานศิลปะทำให้เกิดความหลากหลายและสวยงามในงานศิลปะของไทยในสมัยต่าง ๆ ในปัจจุบันผลงานเหล่านี้ได้ถูกจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนคร ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าและความอัจฉริยะของช่างศิลป์ในไทย

หัวข้อประเด็น

-ดูฉลายธนู
-ลายกามะลอ
-ศิลปะอยุธยา
-ศิลปะรัตนโกสินทร์
-วรรณคดีไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

"ดูฉลายธนูน้ำฝีมือครูทองเฉิงหวาย" ได้รับการยกย่องว่าเป็นศิลปะชั้นเอกที่เลื่องลือจริงด้วยฝีมือชั้นครูของสกุลช่างวัดเชิงหวายที่มีชื่อเสียงในมัยอยุยา นอกจากสายเส้นที่ขัดและความพลิ้วไหวของปลายลวดลายกระหนก ประดับเปลวเพลิงแล้ว ช่างฝีมือยังได้สอดแทรกภาพสัตว์ เช่น นก กระรอก ผีเสื้อ ที่ดูมีชีวิตเคลื่อนไหวอย่างเป็นธรรมชาติไว้ในลวดลาย ที่สดคล้องกลมกลืนไปกับความพลิ้วไหวของลายกระหนกได้อย่างลงตัว บบอกอกอัจฉริยภาพเชิงช่างของครูสี่สมัยในด้านองค์ประกอบและช่องไฟซึ่งเป็นต้นแบบให้แก่ช่างลายรดน้ำในยุคต่อ ๆ มาอีกด้วย ปัจจุบันดูฉลายธนูฝีมือครูทองเฉิงหวายจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนคร จำนวน 2 คู่ โดยดูฉลายธนูฐานสิ่งหัตถกรรมแต่งด้วยลวดลายกระหนกเปลวเครือเถา ส่วนคู่ที่สองตกแต่งด้วยลายกระหนกบ่วง "กามะลอ" เป็นลายประดับดิษป์อีกแนบหนึ่งที่ปรากฏบนภูพระธรรม ซึ่ง น. ณ ปากน้ำ กล่าวไว้นพานูนกรศิลปะว่า "ลายกามะลอ คือ ลายทองรดน้ำ แล้วเอารักผสมสีฝุ่นและชาดระบายผสมลงไปกับลายทองบนผืนผ้าใส่กันว่าลายกามะลอมีมาตั้งแต่ครั้งปลายมัยอยุธรุ่งศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยรับอ่อนพิพลจากศิลปะจีน ลายเส้นที่ให้ลายกามะลอเป็นที่อับอาบเป็นเพราะแต่เดิมคนไทยรู้จักเพียงลายรดน้ำที่มีเพียงสีทอง บนพื้นสีดำหรือแดงแต่เพียงอย่างเดียว จึงนำจิตกรรมจีนที่สันหลากหลายแปลกตามาประยุกต์ตามอุตม์ไทย ลวดลายประดิษฐ์ตามอย่างแบบจีนแบบเดิม เช่น ภาพเซี่ยงกงยิ้มบนสิ่งดีใน ลายดอกไม้ปลาหางนกณี ดั่งที่ปรากฏอยู่บนดูพระธรรมเป็นต้น ในมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ศิลปะลายกามะลอเริ่มมีความเด่นชัดในรูปแบบ มีความเป็นเอกลักษณ์อย่างไทยมากยิ่งขึ้น โดยการนำเอาเรื่องราวในวรรณคดีไทยมาเขียนเล่าเรื่อง เช่น เรื่องรามเกียรติ์นิยมนำมาฝืนตามอุตม์คำ-บไทย อาทิ ภาพกินนร กินรี ตัวรังษี ลวดลายกระหนกลปลาหางนกณี ดั่งที่ปรากฏอยู่บนดูพระธรรมเป็นต้น ในมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ศิลปะลายกามะลอเริ่มมีความโดเด่นมีลักษณะเป็นรูปแบบ มีความเป็นเอกลักษณ์อย่างไทยมากยิ่งขึ้น โดยการนำเอาเรื่องราวในวรรณคดีไทยมาเขียนเล่าเรื่อง เช่น เรื่องรามเกียรติ์นิยมนำมาฝืนตามอุตม์คำ-บไทย อาทิ ภาพกินนร กินรี ตัวรังษี ลวดลายกระหนกปลาหางนกณี ดั่งที่ปรากฏอยู่บนดูพระธรรมเป็นต้น ในมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ศิลปะลายกามะลอเริ่มมีความเด่นชัดในรูปแบบ มีความเป็นเอกลักษณ์อย่างไทยมากยิ่งขึ้น โดยการนำเอาเรื่องราวในวรรณคดีไทยมาเขียนเล่าเรื่อง เช่น เรื่องรามเกียรติ์นิยมนำมาฝืนตามอุตม์คำ-บไทย อาทิ ภาพกินนร กินรี ตัวรังษี ลวดลายกระหนกปลาหางนกณี ดั่งที่ปรากฏอยู่บนดูพระธรรมเป็นต้น" มินาค ๒๕๕๙ อยู่ในบุญ ๒๗
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More