ข้อความต้นฉบับในหน้า
อาจกล่าวได้ว่า ศาสนาเป็นบ่อเกิดของและแห่งซ้อ เพื่อบอกเล่าเรื่องราวคาถาคอนในศิลปะอันวิจิตร ด้วยแรงรักแรงศรัทธาของพระพุทธศาสนากับผู้ปรารถนาถึงดีสร้างผลงานอันวิจิตรดงามสะท้อนผ่านพุทธศิลปะขั้นเลิศ ด้วยฝีมือขั้นครูจงช่างหลายแขน สำหรับงานประณีตศิลป์บันดุพระไตรปิฏก พระอุโบสถ ฯลฯ เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของจิตกรรมขั้นสูงที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนวัตถุ ที่ปรารภผู้มีผีมือช่างแต่ในบรรณบรรจงจำหลักเส้นสายที่งาม
ด้านหน้าช่วงบนประตูชายขวา ส่วนด้านหลังดูและภายในส่วนที่เป็นชั้นสำหรับวงคัมภิรีนั้นไม่นิยมตกแต่งสดลาย แต่ทว่าด้วยรัก ทับตลายกำมะลอสดตกแต่งส่วนขาดพระไตปิฏกที่ตกแต่งดอกตาบนบานขนาดดูพระธรรมที่เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร และทอดสมุดแห่งชาติ จะเห็นความแตกต่างของรูปแบบในเชิงช่างที่โดดเด่นสามารถระบุยุคสมัยของงานศิลปะจากรูปแบบของลวดลายได้เป็น ๓ สมัย คือ สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์
"ดู" ลายทอง เป็นคำที่นำไปใช้เรียกดูพระไตรปิฎกที่ถูกแต่งด้วยลายรดน้ำ ลงรัก ปิดทองทั่งดู เป็นงานศิลปะไทยที่มีกำลัณโดดเด่น คือ เป็นภาพที่ใส่สีเพียง ๒ สี คือ สีทองของทองคำและสีดำของยารัก หรือบางครั้งเป็นสีทองบนพื้นหลังสีแดง ไม่ปรากฏหลักฐานระบุแน่ชัดว่ากำเนิดในสังคมไทยเริ่มเขียนลายรดน้ำนี้ขึ้นเมื่อใด แต่ถ้าหากพิจารณาลวดลายจากดูพระธรรมที่เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร และหอสมุดแห่งชาติ จะเห็นความแตกต่างของรูปแบบในเชิงช่างที่โดดเด่นสามารถระบุยุคสมัยของงานศิลปะจากรูปแบบของลวดลายได้เป็น ๓ สมัย คือ สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์
มีนาคม ๒๕๕๙ อยู่ในบุญ ๖๕