ข้อความต้นฉบับในหน้า
งานประณีตศิลป์บนผนังไตรปิฎก
นอกจากแง่มุมเรื่องราวในพระพุทธ-
ศาสนาหรือวรรณคดีช่างศิลปบางองค์การ
ถ่ายทอดผ่านลวดลายต่าง ๆ แล้ว อีก
สิ่งหนึ่งที่สื่อออกมาพร้อม ๆ กับความ
งดงามทางศิลปะก็คือ ความรักและ
ความศรัทธาที่มีต่อพระพุทธศาสนา
ของช่างศิลป์และผู้มีส่วนในการสร้าง
ตู้พระไตรปิฎก
ลายรดน้ำกำมะลอ เรื่องอิหนา
ศิลปะรัตนโกสินทร์
ลายเส้นสีทองที่ผีวไหวของปลายกระหนกที่ปรากฏ
บนตุพระไตรปิฎก มิได้เพียงแสดงถึงความงามด้าน
ประณีตศิลปะที่จับต้องได้เท่านั้น แต่ยังสะท้อนถึงความประณีต
ของจิตใจช่างฝีมือขั้นครูผู้บรรจงสร้างผลงาน ตลอดจน
จิตใจของพุทธบริษัท ๔ ในกาลก่อนที่เคารพบูชาพระพุทธ-
ศาสนาเหนือสิงอันใด ศิลปวิจิตรบรรจงบนตู้พระไตรปิฎก
คู่ควรยอมรับมิร้อนรนสุขค่าของพระบรมครูบารมาญุษฎขุ
พยายามบอกกล่าวว่าลูกหลานไทยให้ดูแลพระพุทธศาสนา
อย่างดีที่สุ ด มรดกประดิษฐ์ศิลปด์ไร้ค่าจากพระพุทธศาสนา
หมดสิ้นไปจากแผ่นดินไทย เมื่อความงามและสุนทรียศาสตร์
อันเป็นเอกลักษณ์ของสังคมไทยผูกพันแน่นแฟ้นกับพระพุทธ-
ศาสนาเช่นนี้ เรามุ่งเป็นพุทธศาสนิกชนจึงควรหันเหันรักษา
พระพุทธศาสนาให้คงอยู่คู่แผ่นดินของเราต่อไป เพราะ
ถ้าพระพุทธศาสนาสูญหายไป ก็เท่ากับเอกลักษณ์ความเป็น
ชาติของเราถูกทำลายไปด้วย
บุญเตือน ศรีวรรจาน. รามเกียรติ์จากตุ๊ลารดน้ำ. กรุงเทพฯ : สำนักงานวรรณกรรมและประวัติศาสตร์
กรมศิลปากร, ๒๕๕๕.
ศิลป พีระศรี. เรื่องตุ๊ลารดน้ำ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๐๓.
อภิวันทน์ อุดุลเจนภรณ์, ลายรดน้ำ, กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๕๕.
๓๙ อยู่ในบุญ มินาคม ๒๕๕๙