ประเภทบุตรในโลกและการเตรียมตัวในปฐมวัย ทายาทเศรษฐี Millionaire Heirs (ฉบับ ๒ ภาษา)  หน้า 81
หน้าที่ 81 / 114

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้จะแบ่งบุตรออกเป็น ๓ ประเภทตามความประพฤติ ได้แก่ อติชาติ หรืออภิชาติบุตรที่ดีว่าพ่อแม่, อนุชาติมุตรที่สมอพ่อแม่, และอาวชาติมุตรที่แก่กว่าพ่อแม่ นอกจากนี้ ยังพูดถึงความสำคัญของการศึกษาในช่วงปฐมวัย และการควรปฏิบัติตามมงคลสุขตรเพื่อการเตรียมตัวในการออกครองเรือนในอนาคต โดยเน้นการพัฒนาความรู้ ความเป็นระเบียบวินัย และสุขภาพที่ดี รวมถึงการใช้หลักธรรม ทีมชาญสูตรในการดำเนินชีวิตให้มีความสุข โดยมุ่งเน้นที่การหาทรัพย์ด้วยปัญญาและความขยัน, การจัดการทรัพย์ที่ดี, การคบคนที่ดี และการใช้จ่ายอย่างมีความสุข.

หัวข้อประเด็น

-ประเภทบุตร
-ความสำคัญของการศึกษาในปฐมวัย
-มงคลสุขตร
-หลักธรรม ทีมชาญสูตร
-การเตรียมตัวสู่วัยผู้ใหญ่

ข้อความต้นฉบับในหน้า

4. บุตรในโลกแบ่งเป็น ๓ ประเภท ตามความประพฤติ หรือสีลี ก) อติชาติ หรืออภิชาติบุตร บุตรที่ดีว่าพ่อแม่ เช่น ออกเสน (บรรลุพระอรหัต), ลูกสาวเศรษฐีจรรย์รักษ์ (บรรลุโสดาบันตั้งแต็เด็ก) 2) อนุชาติมุตร บุตรที่สมอพ่อแม่ เช่น นายกาละ กับ จุฬุสุขทา 3) อาวชาติมุตร บุตรที่เแก่กว่าพ่อแม่ เช่น บุตรเศรฐฐีมีทรัพย์มาก 5. บทฝีกูลูกรัก ช่วงปฐมวัย อายุไม่เกิน ๒๕ ปี เรียกว่าปฐมวัย ปกติเป็นวัยที่ยังไม่สมควรจะออกครองเรือน ควรเป็นวัยแห่งการศึกษาเล่าเรียน เป็นระยะเวลาของการเตรียมตัวที่จะออกไปครองเรือนในอนาคต มักจะอยู่ในความปกครองของบิดามารดา ชีวิตปฐมวัยควรปฏิบัติตามมงคลสุขตร ตั้ งแต่ข้อ ๑ ถึงข้อ ๑๐ คือ ก) ไม่ให้คนพาล (เพื่อจะได้ไม่ตกในทางที่ชั่ว) ข) ให้บัณฑิต (เพื่อให้พบแต่ความเจริญรุ่งเรืองของชีวิต) ค) ให้บุคคลที่ควรบูชา (เพื่อให้เกิดแบบอย่างที่ดี) ง) ให้อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม (เพื่อสะดวกในการศึกษาเล่าเรียน) จ) ให้สะสมบุญเรื่อยไป (เพื่อเป็นทุนไปสูความสุขสำเร็จ) ฏ) ให้ตั้งใจไว้ชอบ (เพื่อให้มั่นสัมงชีวิตที่ถูกต้อง) ฑ) ให้เป็นผู้ฟังมาก (เพื่อจะได้มีความรอบรู้) ฒ) ให้ศึกษา ศิลปวิทยา (เพื่อให้มีพื้นฐานการประกอบอาชีพงานที่ดี) ณ) ให้มีระเบียบวินัยดี (เพื่อให้มีหลักการที่ดีในการดำรงชีวิต) ด) ให้มีวามสุขภาพดี (เพื่อให้เกิดความมีสมดุลในตัวเอง) หรือจะใช้หลักธรรม ทีมชาญสูตร ก็ได้ เพื่อความสุขในปัจจุบันแก่ลูกสูตร ๔ ประการ คือ ๑) อุฏฐานสัมปทา รู้จักหาทรัพย์ด้วยปัญญาและความขยันมั่นเพียรของตนเอง ๒) อารักขาสัมปทา รู้จักเก็บรักษาและทำให้ทรัพย์เพิ่มพูน ๓) กัลยาณมิตตตา รู้จักคบคน ๔) สมชีวิตา รู้จักการใช้จ่ายทรัพย์ไม่ฟุ่มเฟือย หรือขัดสนเกินไป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More