การรับประทานอาหารอย่างชาญฉลาด วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนสิงหาคม พ.ศ.2559 หน้า 78
หน้าที่ 78 / 128

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการรับประทานอาหารอย่างมีมารยาท โดยเน้นการจัดการน้ำล้างบาตรไม่ให้กระทบกับผู้อื่น สอนให้เข้าใจถึงการเคารพอาหารที่สร้างสรรค์และการหลีกเลี่ยงการทำให้เจ้าบ้านรู้สึกไม่ดีจากการไม่ประหยัดอาหาร อธิบายถึงความสำคัญในการเลือกทานอาหารที่ไม่ทำให้ผู้อาหารรู้สึกอับอายหรือขาดความเชื่อมั่น

หัวข้อประเด็น

-มารยาทในการรับประทานอาหาร
-ความสำคัญของการไม่เหลืออาหาร
-การเคารพเจ้าบ้าน
-การเลือกอาหารที่เหมาะสม
-การประหยัดอาหาร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ยกขึ้นแล้วเอาปากอมพายน่าดิ้ลๆ อย่างนี้ หมดท่า น้ำที่เหลือใครเขาจะกิน เพราะคุณได้เติมน้ำลายลงไปแล้ว ทางที่ควรรับน้ำใส่ฝาถังแล้วดื่ม ก็จะดูเรียบร้อยกว่า ถึงจะยกริ่นต่อเนื่องกลางอากาศก็ไม่รำคาญ ข้อ ๑๐. "ภิกษ์พึงทำความศึกษาไว้ว่า เราจักไม่เอาน้ำล้างบาตรมีลิ้นข้าวในบ้าน" ถ้าข้าวแล้วล้างบาตรเทลงในบ้านเขา เม็ดข้าวเกลื่อนบ้าน คนที่เขาเทใจมากคือแม่บ้าน เพราะแสดงกับข้าวกับปลาที่เขาทำ ถวายนี้ไม่ดี ไม่ร่อย ท่านจึงฉันไม่หมดต้องเททิ้งเสียบ้าง หรือไม่อย่างนั้นก็องไปถึงความสะเพร่า ความไม่รู้จักประมาณ ความไม่ประหยัด ฝาผักเราไว้ด้วยนะ ไปกินอาหารบ้านใครดี ให้กินข้าวแต่น้อย ถ้าไม่ร่อยยังฝนกินจนหมดจานได้ ถ้าตามมาทนกินไม่หมด อย่างนี่แต่แม่ครัวหน้เสียดาย เพราะแสดงว่า เขาทำกับข้าวไม่อร่อย ถามแม่ครัวทักกับข้าวไม่อร่อยหรอก แต่เราเอากินอื่นมาบ้างแล้ว พอเขาก็ยัยนะให้กินอีก ความไม่รู้จักประมาณท้อง ตักเสยมากแล้วกินไม่หมดเหลือตั้งครึ่งค่อนจาน แม่ครัวเขาไม่รู้หรอกว่าเป็นเพราะอะไร นอกจากเดาว่ากับข้าวไม่อร่อย ดั้งใจไว้ว่าทำข้าวแล้วชาชบ้านกินไม่ลง สิ่งละอันพันละน้อยอย่างนี้มีความหมายมาก ถ้ารู้จักกันอนมุ่นได้นใครไปถึงไหนก็ไม๊อดเขาจะเตรียมข้าวปลาอาหารไว้ต้อนรับเสมอ แต่ถ้าเราเลือกอาหารหรือทำให้เขาเกิดปมด้อยว่า เขาทำอาหารไม่อร่อย ไปถึงไหนคงโดเลย แต่ถ้าทำอย่างหลวงพ่อว่า ไปถึงไหนมีกินรึยง ๆ กองเสี่ยงของเรามีอยู่ตลอดสองข้างทาง ☻ (อ่านต่อตอนหน้า)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More