สัมภาษณ์พระมหา ดร. พงศ์ศักดิ์ ฐานิยะ ผู้นำด้านพุทธศาสตร์ในญี่ปุ่น วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนธันวาคม พ.ศ.2559 หน้า 47
หน้าที่ 47 / 120

สรุปเนื้อหา

ในบทสัมภาษณ์ที่น่าตื่นเต้นนี้ เราได้พบกับพระมหา ดร. พงศ์ศักดิ์ ฐานิยะ อาจารย์มหาวิทยาลัยด้านพุทธศาสตร์ในญี่ปุ่น ซึ่งเขาได้รับปริญญาเอกเร็วที่สุดในรอบ 30 ปี โดยมีประวัติการศึกษาที่โดดเด่นจากมหาวิทยาลัยวิโคกุ ปัจจุบันท่านมีอายุ 39 ปี สู่การเป็นอาจารย์ในญี่ปุ่นถึง 3 แห่ง 5 วิทยาเขต ขณะเรียนท่านยังสร้างวัดเพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศญี่ปุ่น ท่านเล่าถึงการตัดสินใจบวชท่ามกลางความกังวลของครอบครัวและสิ่งที่ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ชีวิตในการเดินทางสู่ความสำเร็จ ทำให้เราสัมผัสได้ถึงแรงบันดาลใจในการใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่า เชิญชวนเก็บเกี่ยวประสบการณ์ที่ทรงคุณค่าในชีวิตจากท่าน

หัวข้อประเด็น

-พระมหา ดร. พงศ์ศักดิ์ ฐานิยะ
-การศึกษาในญี่ปุ่น
-การเผยแผ่พระพุทธศาสนา
-แรงบันดาลใจในการบวช
-ประสบการณ์ชีวิตที่มีคุณค่า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

นาทีภูบอกเวลาบ่ายสองโมง เรารู้สึกตื่นเต้นกับนัดสำคัญที่จะได้สัมภาษณ์อาจารย์มหาวิทยาลัยด้านพุทธศาสตร์ชั้นนำของประเทศ ญี่ปุ่น เจ้าของผลงาน “ผูู้ปริญญาเอกเร็วที่สุดในรอบ ৩๐ ปี นับตั้งแต่บัณฑิตมหาวิทยาลัยมา” “พระมหา ดร. พงศ์ศักดิ์ ฐานิยะ” คือเจ้าของผลงานนี้ ปัจจุบัน ท่านอายุ ๓๙ ปี ๒๐ พระษา เรียนจบปริญญาดุษฎี-โท-เอก จากมหาวิทยาลัยวิโคกุ (Ryukoku University) ประเทศญี่ปุ่น จบแล้วได้รับเชิญไปรับเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยในญี่ปุ่นถึง ๓ แห่ง ๕ วิทยาเขต ระหว่างเรียนท่านต้องสร้างวัดไปด้วย เผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนที่ศรัทธาเรื่องศาสนาคนดอยคอยดูไปด้วย ภารกิจอีก ๒ ประการ ตอนนั้นสำเร็จไปถึงระดับไหน? ท่านผ่านการกิจกนแบบนี้มาได้อย่างไร? ต้องฟื้นฟูอะไรบาง?, เชิญเก็บเกี่ยวประสบการณ์จากชีวิตท่านซึ่งน่าสนใจตั้งแต่ต้นจนถึงปัจจุบันสุดท้าย... ด่านแรก: สเตจ ๑ ในที่นี้ขอเรียกท่านว่า “พระอาจารย์ฐานิยะ” เล่าให้ฟังว่า “หลงพี่บูบ ปวช. จากวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และกำลังจะเรียนต่อปริญญาตรีในคณะวิศวกรรมศาสตร์แต่ช่วงปิดเทอม พ.ศ. ๒๕๐๐ หลวงพี่ไปอบรมธรรมทายาททั่วพระธรรมกาย ได้รับสมาชิกในบวชธรรม ก็เกิดความศรัทธาในพุทธศาสนาขึ้นมาจับใจ และเล็งเห็นว่า “ความตายไม่มีนิมิตหมาย ไมรู้ว่าเราจะจากโลกนี้ไปเมื่อไร จึงตัดสินใจบวชตลอด แล้วก็ปล่อยจากมหาวิทยาลัย เพื่อใช้ชีวิตให้คุ้มค่าที่สุดในฐานะพระภิกษุ” ประวัติสั้น ๆ แต่ไม่ธรรมดานี้ ทำให้มีเสียงตอบขึ้นมาในใจของเราว่า “ใจเด็ด” เมื่อคำตัดสินใจแบบนี้แล้ว ด่านแรกที่ท่านต้องฟันฝ่า “ความรักความหวงใย” from ครอบครัว ที่ต้องการให้ท่านออกไปมีอนาคตที่สดใกลงลมากกว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More