การสอนพุทธศาสนาในญี่ปุ่นโดยหลวงพี่ วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนธันวาคม พ.ศ.2559 หน้า 49
หน้าที่ 49 / 120

สรุปเนื้อหา

ในช่วง 6 ปีที่ผ่านมา หลวงพี่ได้สอนพระพุทธศาสนาให้กับนักศึกษาในญี่ปุ่นและได้มีการเข้าร่วมกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จนถึงสามารถสร้างศูนย์ปฏิบัติธรรมเพื่อสอนชาวญี่ปุ่นที่ไม่มีพื้นด้านพุทธศาสนาได้สำเร็จ โดยนำหลักธรรมและการปฏิบัติทางศาสนามาเรียนรู้ร่วมกับชาวญี่ปุ่นอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความศรัทธาในพุทธศาสนาในกลุ่มคนทั้งสองประเทศ ซึ่งมีการจัดกิจกรรมมากมายที่ช่วยเสริมสร้างความสนใจในศาสนาต่อไปในอนาคต

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาในพุทธศาสนา
-การเผยแผ่ในต่างประเทศ
-ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น
-การสอนและการปฏิบัติธรรม
-กิจกรรมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลวงพี่สอนนักศึกษาวุฒิปริญญา พระพุทธศาสนาเราว่า พระพุทธศาสนาในเชีย สอนมา ๖ ปีแล้ว มีนักศึกษาสมัครเรียนกว่า ๑,๐๐๐ คน อีก ๒ แห่งที่หลวงพี่ไปสอนก็คือ มหาวิทยาลัยบุคเคียว (Bukkyo University) และ มหาวิทยาลัยโอดะคะ (Doshisha University) มาถึงจุดนี้ ด่านสอง คือ “การศึกษา” ถือว่า ผ่านเป้าด่านอย่างสำเร็จ ด่านที่สาม : สเตจ III ด่านนี้เป็นเรื่องของ “การเผยแผ่” ซึ่งมี เรื่องราวมากมายทำงานที่สนใจไม่น้อย "ยุคแรกของการเผยแผ่คำสอน" ดำเนินในญี่ปุ่น เราเผยแผ่มากว่าไทยเป็นหลัก ยุคนี้ ขาวญี่ปุ่นที่มาวัดคือคนที่มีวรรณะเป็นขาวไทย รู้ว่าคนธรรมไทยเป็นทุนเดิม อยู่แล้ว การสอนจึงไม่ค่อยมีปัญหา ลูก ๆ ที่เป็นลูกครึ่ง เราก็อบรมสั่งสอนจนแต่งตั้ง เด็กตอนนี้เรียนมหาวิทยาลัยหลายคนแล้ว และ เข้ามาช่วยงานอยู่จนถึงปัจจุบัน การเผยแผ่นกลุ่มนี้ไม่มากเท่าไหร่ แต่ต้องออกแรงเยอะมากที่สุดก็อาจต่อยอดเผยแผ่ แก้ชาวท้องถิ่น ซึ่งต้องมีการวางรากฐาน คือ “วางทีม” และ “วางที่” ขั้นตอนนี้ต้องพยายามมากและใช้เวลานานกว่าฐานจะมั่น "ถ้ารากฐานดี แข็งแรง จะต่อยอดขึ้นไปสูงแค่ไหนก็ไม่มีปัญหาตามมา" พระอาจารย์ ฐานโยกล่าวว่า "ปัจจุบัน เรามีตัวในพื้นที่หลัก ๆ ๑๐ วัด คือว่าการฐานค่อนข้างมั่นคง เมื่อ ๑-๕ ปีที่ผ่านมาเลยย้ายขึ้นมาอีกขั้นหนึ่ง คือ เริ่มตั้งศูนย์ปฏิบัติธรรมญี่ปุ่น เพื่อสอนชาวญี่ปุ่นที่ไม่มีพื้นด้านพุทธศาสนา เริ่มจากการสอนมิสเป็นหลัก โดยไม่พูดถึงเรื่องศาสนา เพราะคนญี่ปุ่นไม่ชอบการยึดเยี่ยมแต่พอขอไปสักพักเขาก็รู้เอง" การเผยแผ่ได้ผลสำเร็จเป็นวันที่น่าพอใจ คือ นอกจากคนสนใจนั่งสมาธิเยอะขึ้นแล้ว กิจกรรมอื่น ๆ เช่น การบรรยายธรรมที่ญี่ปุ่น และการบรรพชาอุปสมบทระยะสั้นที่ จัดในประเทศไทย เพื่อให้คนในประเทศไทยต่อไปในอนาคต ก็มีคนสนใจเข้าร่วมไม่น้อย และเมื่อลาศึกมาแล้วก็ยังแบ่งเวลามาช่วยงานวัด บางรูปบวชแล้วยังไม่กล้าก็เรียกกุลา คนที่มาวัดมีราศรีกำในพระศาสนามากขึ้นเยอะ "สาวชาวทั้งชาวไทยชาวญี่ปุ่นเอาใจใส่พระกุศลมากขึ้น เกิดศรัทธาในศาสนาพุทธ" ธันวาคม ๒๕๕๙ อยู่ในบูญ ๔๗
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More