ข้อความต้นฉบับในหน้า
ต่อมา รัฐสมัยพระเจ้าอยู่หัวอานันท-มหิดล รัชกาลที่ ๙ เริ่มมีการแปลพระไตรปิฎกเป็นภาษาไทย มีทั้งพระไตรปิฎกแปลโดยอรรถและพระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน มหามกุฎราชวิทยาลัย เป็นต้น พระมหาโมทธีแห่งกรุงเทพมหานคร ทุกพระองค์ทรงนำชาติมาให้พัฒนาและก้าวผ่านภยันตรายต่าง ๆ ด้วยพระปรีชาสามารถ ทรงนำหลักการทางพระพุทธศาสนามาป้องกันแดนให้พระพุทธศาสนาในประเทศไทยอยู่ยั่งยืนเป็นสุข ทั้งยังทรงปฏิบัติพระองค์เป็นแบบอย่างของพุทธศาสนิกชนที่ดี นอกจากนั้นยังทรงมอบสมบัติสำคัญ คือ พระไตรปิฎกที่บรรจุคือตอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้ให้ลูกหลานได้ศึกษาเรียนรู้ เป็นการนำทางชีวิตที่มั้งทั้งความงามงามเชิงศิลป์ แสดงถึงอารยธรรมของประเทศและเป็นประจักษ์พยานที่แสดงให้ทั่วโลกเห็นว่า แผ่นดินแห่งทองของไทยนั้นงดงามด้วยความเป็นไทยและแสดงแห่งธรรม
อ้างอิง
ก่องแก้ว วิระประจักษ์ และวิวิทธิ์ อุณนากรางกูร คมภิไลนานฉบับหลวงในสมัยรัตนโกสินทร์กรุงเทพ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๕
พระไตรปิฎกในพระบรมมหามเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว / แปลบรมฤติยา (สุภาพรรณ ณ บางช้าง)
กรุงเทพ : บริษัท คราฟแมนแพรส จำกัด, ๒๕๕๔
สำนักงานวัฒนธรรม กศน และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร. พัฒนาการของอักษรไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พระพุทธศาสนา, ๒๕๕๕
สำนักงานวัฒนธรรม กศน และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร. วิวัฒนาการอ่านไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, ๒๕๕๕
อยู่ในบุญ ธันวาคม ๒๕๕๕