ข้อความต้นฉบับในหน้า
ทรงเริ่มขึ้นแต่ครั้งกรุงธนบุรี แต่สิ้นสมัยกาลก่อนที่คัมภีร์พระไตรปิฎกฉบับหลวงเสร็จสมบูรณ์ แต่การนั้นข้อความในพระไตรปิฎกฉบับหลวงที่รวบรวมขึ้นใหม่ยิ่งคลาดเคลื่อนไม่โปรดเกล้าให้กระทำการสังคายนาพระไตรปิฎกเป็นครั้งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ วัดพนาวาสนาม โดยคัมภีร์พระไตรปิฎกฉบับหลวงที่ทรงให้สร้างขึ้นก่อนหน้านั้นมาดรวจสอบ พระไตรปิฎกฉบับนี้จึงเรียกว่า ฉบับสังคายนา หรือ ฉบับดูดิม และเรียกฉบับที่จารึกหลังสร้างภาคนาว่า ฉบับทองใหญ่
ที่ผ่านมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระพทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 รัชสิงให้สำรวจตรวจสอบคัมภีร์พระไตรปิฎกที่ประดิษฐาน ณ หอพระนลิเบียรรม ทำให้พบว่าคัมภีร์พระไตรปิฎกหลวงบางฉบับถูกหยิบไป จึงเปลี่ยนให้สร้างคัมภีร์พระไตรปิฎกหลวงขึ้นซ่อมแซมฉบับที่สูญหายไปจนครอบปรับปรุง และได้สร้างคัมภีร์ใหม่ขึ้นอีกฉบับ เรียกว่าฉบับรัตนภาษาแดง
คัมภีร์ฉบับอาวาสวัดคณไลลุกพภาย ฉบับรัตนแดงไม่ปรากฏลายอธิษฐาน มีสีลวดลายดำนำ้บนพื้นรักที่บริเวณขาวและช้ายของลานนำไปบกรอบและไปปกหลังคัมภีร์แต่ละฉบับ
ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลที่ 2 รัชสิงให้ตรวจสอบคัมภีร์พระไตรปิฎกที่ประดิษฐาน ณ หอพระนลิเบียรรม ทำให้พบว่าคัมภีร์พระไตรปิฎกหลวงบางฉบับถูกหยิบไปจนครอบปรับปรุง และได้สร้างคัมภีร์ใหม่ขึ้นอีกฉบับ เรียกว่าฉบับรัตนแดง
มาถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระนังกัล-เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 เป็นยุคที่มีการสร้างพระไตรปิฎกจำนวนมากและมีความประณีตงามงิ่งกว่าฉบับที่สร้างในรัชกาลอื่นๆ อีกทั้งยังอักขระมีความถูกต้องครบถ้วน เพราะเหตุที่ทรงให้การสนับสนุนทั้งการศึกษา ภาษาบาลีและอักษรอมฎษ์ฯ ให้แก่ อักขระสิงหลและอักษรมุขป ควบคู่นกัน เพื่อประโยชน์ในการบริจาคถ่ายเอกภาบบาสาที่จะสร้างในเวลานั้นด้วยอักษรอมฎษ และสิงหลเป็นอักษรขอบอย่างถูกต้องแม่นยำ
ฉบับรัตนเอกมีการตกแต่งหรือเขียนด้วยลวดลายรดน้ำบนพื้นรักด้านที่โล่งปกหน้าและปกหลังด้วยความพิถีพิถันและเป็นคัมภีร์ที่พระบูรณีย์ได้ประดิษฐ์ขึ้นตามาตาม