จาริกเสาแปดเหลี่ยมในชัยนาท จารึกเสาแปดเหลี่ยมชัยนาท: จารึกอรรถกถาอภิธรรมที่เก่าที่สุดในประเทศไทย หน้า 6
หน้าที่ 6 / 24

สรุปเนื้อหา

จาริกเสาแปดเหลี่ยมในชัยนาทเป็นโบราณวัตถุที่มีอายุถึงพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งมีความสำคัญในการบันทึกอรรถกถาที่แสดงความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาระหว่างไทยและศรีลังกา โบราณวัตถุนี้ถูกค้นพบประกอบด้วยชิ้นส่วนจากหินทรายขนาด 60 ซม. โดยประเมินอายุจากรูปอักษรได้เป็นพุทธศตวรรษที่ 12 จาริกนี้สำรวจในวันที่ 5-7 ตุลาคม 2531 โดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายวิชาการจากกองโบราณคดี กล่าวถึงรายละเอียดของโบราณวัตถุในสมัยประวัติศาสตร์ที่สำคัญ

หัวข้อประเด็น

-ประวัติศาสตร์ไทย
-พระพุทธศาสนา
-จาริกเสาแปดเหลี่ยม
-อรรถกถา
-โบราณคดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

จาริกเสาแปดเหลี่ยมในชัยนาท Octagonal Pillar Inscription from Chainat: the Oldest Inscription Recording Abhidhamma Atthakathā Text in Thailand จาริกเสาแปดเหลี่ยมพท์จัยจังหวัดชัยนาท ที่อายุเท่าถึงราวพุทธศตวรรษที่ 12 และได้บันทึกเนื้อความที่เป็น อรรถกถาอธิบายธรรมปฎิ which เป็นหลักฐานถึงสายสัมพันธ์ทางพระพุทธ- ศาสตร์ระหว่างไทยกับศรีลังกาก่อนพุทธศตวรรษที่ 18 ได้เป็นอย่างดี จาริกเสาแปดเหลี่ยมชัยนาท จาริกเสาแปดเหลี่ยมชัยนาท หอสมุดแห่งชาติกำหนดเลขทะเบียน เป็น “ชนะ 15” แต่ในหนังสือโบราณคดีเมืองอุทัยธานี เรียกว่า “จาริก เสาแปดเหลี่ยม” มีลักษณะเป็นชิ้นส่วนแตกหักจากเสาแปดเหลี่ยมทำ จากหินทรายมีขนาดกว้างเหลี่ยมละ 20 ซม. รวม 2 เสี่ยงประมาณ 40 ซม. สูง 60 ซม. สันนิษฐานว่าเป็นเสาที่ใช้ตั้งธรรมจักร กำหนดอายุ จากรูปอักษรปลฉลละได้อายุจากพุทธศตวรรษที่ 12 จาริกเสาแปดเหลี่ยมนี้พบบรรจุอยู่กับจาริกอีกหลักหนึ่งคือ จาริกรวมจารึก เลขทะเบียน “ชนะ 14”ในที่ดินของนายแพทย์สำรวน ปลาวัณย์ไชย ตามประวัติกล่าวว่า “เมื่อวันที่ 5-7 ตุลาคม 2531 เจ้าหน้าที่ฝ่ายวิชาการกองโบราณคดีได้เดินทางไปตรวจสอบโบราณวัตถุซึ่งพบใน 2 คุณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, วรรณะดีบำลี (กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2550), 47-59.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More