ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมธารา
วาสนาวิชา ภาควิชาทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมที่ 10) ปี 2563
อีกหลักหนึ่งที่มีอายุรุ่นราวคราวเดียวกันคือ จารึกด้านรายงาน(21) จารึกด้วยอักษรปิลละ ภาษามอญ อายุพุทธศตวรรษที่ 12 จารึกหลักนี้มีข้อความระบุถึง “อนุราษะ” ชื่อเมืองหลวงของศรีลังกาในสมัยนั้น แต่จารึกด้านรายงานไม่ได้แสดงถึงกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาอย่างเด่นชัดเท่ากับจารึกเสาปดเหลี่ยม ชัยนาท ต่อมาจึงพบหลักฐานอีกชิ้นหนึ่งเป็นข้อความในตลกฤาษีภาคกาฏา วรรณกรรมภาษาบาลีแต่งในศรีลังกาในจารึกเนสระบัว้พ.ศ. 1604(22) ที่จังหวัดสะเก็ด แสดงให้เห็นว่า ดินแดนระหว่างประเทศไทยกับศรีลังกามีการติดต่อกันมายานานโดยเฉพาะในมิติทางศาสนา ก่อนหน้าอาณาจักรสุโขทัยหลายศตวรรษ อีกประการหนึ่ง สถานที่พระจารึกเสาปดเหลี่ยมชัยนาทนี้ อยู่ไม่ไกลจากแหล่งโบราณคดีเมืองอุทัยธานี คืออยู่ใกล้กับลำน้ำอุทัยธานีซึ่งเป็นลำน้ำสายของแม่น้ำเจ้าพระยา แต่ก็ถือว่าอยู่ค่อนข้างไกลจากอ่าวไทยลึกเข้าไปในแผ่นดินพอสมควร จึงมีประเด็นที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญของเมืองทวารวดีในภาคกลางตอนบนประกอบกับข้อมูลทางโบราณคดีอื่นๆ ต่อไป
น่สนใจว่า ต่อมาพระญาณิกิตติเตอะแห่งอาณาจักรล้านนาได้แต่งคัมภีร์สมโภห์ในหนืออัถถ์โยษนา ซึ่งเป็นคัมภีร์อธิบายเนื้อความในสมโภห์ในทีนี้อีกชั้นหนึ่ง ในรวม พ.ศ. 2028-2043(23) ซึ่งเป็นประเด็นที่จะต้องศึกษาไปต่อไปด้านประวัติที่มา เปรียบเทียบเนื้อหา
21 เรื่องเดียวกัน, 47-50
22 บัณฑิต ลิวชัยอาง (บรรณาธิการ), รายงานผลการวิจัยเรื่องการปล่อยฐานพระพุทธศาสนาจากลังเลในแดนแตกแยกประเทศไทย สมัยดำรงธรรมวรวดี (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สมาพันธ์, 2553), 149-160.
23 คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, วรรณคดีบดี, 135.