ข้อความต้นฉบับในหน้า
66
ธรรมธารา
วรรควิชา ทางชะตาพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมที่ 10) ปี 2563
อธิธรรมปฏิก เป็นผลงานของพระพุทธโมษายที่แต่งขึ้นในรัชสมัย พ.ศ. 956 ในประเทศศรีลังกา โดยอาศัยเนื้อความจากคัมภีร์อรรถถถา ภาษาสิงห์ชื่อมหาปัลเจรี แล้วแต่งเป็นภาษาบาลี คัมภีร์สัมโมหิวโหนทนี่แบ่งเนื้อหาเป็น 18 หมวด ตามหัวข้อธรรมที่ปรากฏในวิกัณฑ์เข้าขั้น โดยเรียกชื่อตามเดิมเพียงแต่เติมคำว่า “วินฺทนา (วณฺฑนา)” เข้าไปข้างท้าย เช่น 1) ฉันท์วิภังควณฺฑนา 2) อายตนวิภังควณฺฑนา 3) อาตวํวิภังควณฺฑนา 4) สัจฉวิภังควณฺฑนา ฯลฯ
ในแต่ละวินฺทนาจำแนกเนื้อหาตามแนวการอธิบายทั้งสามลำดับดังที่ปรากฏในวิกัณฑ์ปกรณ์เช่นกัน คือ 1) สุตตนฺตภาณียะ 2) อภิธรรมภาณียะ และ 3) ปัญหา ปฏิกา
ในแต่ละลำดับการอธิบายหากปรากฏหัวข้อย่อยจะเรียกว่านิทฺเทค (นิเทส) เช่น ในฉันท์วิภังควณฺฑนา สุตตนฺตภาณียะ ได้มีการจำแนกย่อยอธิบายขึ้น 5 แต่ละข้อเรียกว่า รูปฉันท์นิเทค เวทนาฯลฯ
ในส่วนของ “สัจฉวิภังควณฺฑนา สุตตนฺตนเทคชะนิยยะ”ไม่ปรากฏภาคแบ่งเป็นนิทฺเทย่อยๆ แต่ใด
สำหรับเนื้อหาในส่วนสัจฉวิภังควณฺฑนา สุตตนฺตนภาคชะนิยะนี้ มีจุดประสงค์เพื่อจะอธิบายอริยสัจ 4 ดังเนื้อความในพระไตรปิฎกหัวข้อที่ 144 คือ
สุขวิภังฺโค
จตุตร อิริยสมจาติ ทุกข์ อิริยสมจติ ทุกขสงฺคิโต ทุกขนิโรฺโส ทุกขนิธโรคามินิ ปฏิรูปา อิริยสมจติ9
9 คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, วรรณะดีบาวัล, 61-62.
10 อภิ ธิ. 35/144/127 (บาลี)