การอ่านและตีความจารึกเสาแปดเหลี่ยม ชัยนาท จารึกเสาแปดเหลี่ยมชัยนาท: จารึกอรรถกถาอภิธรรมที่เก่าที่สุดในประเทศไทย หน้า 9
หน้าที่ 9 / 24

สรุปเนื้อหา

ในปี 2562 ผู้เขียนพร้อมกับนักศึกษาคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้มีโอกาสเข้าไปทำสำเนาจารึกที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชัยนาทมุ่น โดยได้ทำการตรวจสอบคำอ่านใหม่ของจารึกเสาแปดเหลี่ยมเพื่อนำเสนอข้อมูลที่ถูกต้องและแม่นยำยิ่งขึ้น. การวิจัยครั้งนี้มีเป้าหมายในการเผยแพร่องค์ความรู้ทางโบราณคดีที่สำคัญและการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม..

หัวข้อประเด็น

-การอ่านจารึก
-การอนุรักษ์วัฒนธรรม
-การศึกษาโบราณคดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วาสาอาจารย์ทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมที่ 10) ปี 2563 ภาพที่ 2 ลำเนาจารึกเสาแปดเหลี่ยม ชัยนาท ทำโดยอาจารย์และนักศึกษาคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่มา : เฟซบุ๊กกลุ่มเผยแพร่อีก กรมศิลปากร, สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2562, https://www.facebook.com/prfinearts/. การอ่านและตีความใหม่ เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2562 ผู้เขียนพร้อมกับนักศึกษา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับความอนุเคราะห์จาก คุณธิดากานต์ พักตรจันทร์ หัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชัยนาทมุ่น ให้เข้าทำสำเนาจารึกที่เก็บรักษา ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชัยนาทมุ่น จึงได้ตรวจสอบคำอ่านจารึกเสาแปดเหลี่ยม ชัยนาทนี้อีกครั้งหนึ่ง เมื่อสอบกับสำเนาจารึกที่ทำแล้วจึงขอเสนอคำอ่านใหม่ ดังต่อไปนี้ คือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More